งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิดีโอ Video.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิดีโอ Video."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิดีโอ Video

2 ชนิดของ Video Analog video บันทึกภาพ เสียงให้อยู่ในสัญญาณอะนาล็อก
VHS(Video Home System) ม้วนเทปวีดีโอที่ใช้ดูตามบ้าน การตัดต่อข้อมูล อาจจะทำให้คุณภาพลดลง Digital video บันทึกภาพ เสียงจากกล้องดิจิตอลให้อยู่ในสัญญาณดิจิตอล(0,1) การตัดต่อข้อมูล อาจจะทำให้คุณภาพใกล้เคียงต้นฉบับ

3 หลักการทำงาน “แสงตกกระทบกับวัตถุแล้วสะท้อนสู่เลนส์ในดวงตาของมนุษย์ทำให้เกิดการมองเห็น สร้างภาพร่วมกับวงจรอิเล็กทรอนิกส์ แล้วบันทึกภาพเป็นสัญญาณ Analog จากนั้นส่งสัญญาณไปที่เทปวีดีโอ(VCR: Videocassette recorder )โดยการแปลงสัญญาณเป็น Digital แล้วบันทึกทั้งภาพ(Video track)และเสียง(Audio track)”

4 ไฟล์วีดีโอหาได้ ที่ไหน?
แผ่น VCD Digital Camera DVD เทป VHS แล้วแปลงเป็นไฟล์ video digital website ต่างๆ

5 ระบบวิดีโอในปัจจุบัน
ระบบวิดีโอมีความสัมพันธ์กับการนำไฟล์วิดีโอไปเผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งไฟล์วิดีโอนั้น ๆ จะเปิดกับโทรทัศน์ หรือเครื่องเล่นอื่น ๆ ได้หรือไม่ขึ้นอยู่กับการกำหนดค่าของระบบวิดีโอในขั้นตอนการตัดต่อด้วย โดยต้องกำหนดค่าให้ตรงกับระบบวิดีโอทั่วไปที่แต่ละประเทศเลือกใช้เท่านั้น

6 ระบบวิดีโอในปัจจุบัน
NTSC (National Television System Committee) PAL (Phase Alternate Line) SECAM (Sequential Color and Memory) HDTV (High Definition Television)

7

8 NTSC (National Television System Committee)
นิยมใช้ในสหรัฐอเมริกา, แคนนาดา , ญี่ปุ่น , เกาหลีใต้ และ ประเทศอื่นบางประเทศ NTSC เป็นหน่วยงานรับผิดชอบด้าน TV และ Video ของ สหรัฐฯ เป็นการเข้ารหัสข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์ กำหนดให้สร้างภาพด้วยเส้นในแนวนอน 525 L/F Frame Rate 30 fps 16 ล้านสี

9 PAL (Phase Alternate Line)
ใช้ในยุโรป , อังกฤษ , ออสเตรเลีย และ แอฟริกาใต้ และ เอเชียบางประเทศ รวมถึงประเทศไทยด้วย กำหนดให้สร้างภาพด้วยเส้นในแนวนอน 625 L/F Frame Rate 25 fps

10 SECAM (Sequential Color and Memory)
กำหนดให้สร้างภาพด้วยเส้นในแนวนอน 625 L/F frame Rate 25 F/s

11 HDTV (High Definition Television)
พัฒนาแสดงภาพที่ความละเอียดสูง คือ 1280 x 720 Pixel เป็นความละเอียดสำหรับการแสดงภาพเช่นเดียวกับ โรงภาพยนตร์

12 คุณสมบัติของไฟล์วิดีโอ
ไฟล์วิดีโอที่เราได้จากการถ่ายทำภาพยนตร์หรือจากสื่อบันทึกต่างๆ หรือแม้กระทั่งไฟล์หลังการตัดต่อวิดีโอนั้น จะมีคุณสมบัติของไฟล์ที่เป็นเอกลักษณ์ชัดเจน เพื่อให้เราสามารถนำไฟล์วิดีโอไปใช้อย่างถูกต้อง และตรงตามคุณสมบัติจริงของไฟล์ดั้งเดิม ซึ่งคุณสมบัติของไฟล์วิดีโอที่สำคัญมีดังนี้

13 คุณสมบัติของไฟล์วิดีโอ
1. Frame Rate 2. Timebase 3. Data Rate 4. ขนาดของเฟรม และ Aspect Ratio 5. การบีบอัดข้อมูล (Compression)

14 1. Frame Rate ความเร็วในการแสดงภาพเคลื่อนไหวต่อหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็นเฟรมต่อวินาที (fps) โดยค่า Frame Rate ที่จะทำให้เกิดภาพยนตร์ได้ จะต้องมีค่าประมาณ 7 – 10 fps * ค่าของ Frame Rate ต้นฉบับ ควรจะมีค่าเท่ากับ Frame Rate ของชิ้นงานสุดท้ายหลังการแปลงไฟล์ภาพยนตร์เพื่อนำไปเผยแพร่ เพื่อให้การแสดงผลมีความถูกต้องไม่สะดุด

15 2. Timebase การแบ่งช่วงเวลาในการตัดต่อออกเป็นส่วน ๆ ใน 1 วินาที โดยค่านี้จะมีความสัมพันธ์กับ Frame Rate คือ ค่าของ Timebase จะต้องเท่ากับค่าของ Frame Rate เพื่อให้การแสดงผลภาพมีความถูกต้องและไม่สะดุดขณะนำไปเผยแพร่

16 3. Data Rate อัตราการส่งข้อมูลเพื่อแสดงผลภาพเคลื่อนไหวในระบบดิจิตอล ซึ่งเป็นค่าเดียวกับคำว่า “Bit Rate (ความเร็วในการส่งข้อมูล)” โดยมีหน่วยย่อยที่สุดคือ บิตต่อวินาที (bps) การกำหนดค่า Data Rate นี้ หากกำหนดให้มีค่ามาก จะทำให้คุณภาพของไฟล์วิดีโอสูง แต่ข้อเสียก็คือจะกินเนื้อที่ในฮาร์ดดิสก์มาก

17 4. ขนาดของเฟรม และ Aspect Ratio
ขนาดของเฟรม เป็นขนาดของความกว้าง x ความยาวของเฟรม ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับค่า Aspect Ratio โดยตรงเนื่องจาก Aspect Ratio คือ อัตราส่วนความยาว : ความกว้างของเฟรม เช่น Aspect Ratio เท่ากับ 4 : 3 หมายความว่าเราต้องกำหนดขนาดของเฟรมในการแสดงผลเป็น (1024 : 768), (800 : 600), (640 : 480)

18

19 4. ขนาดของเฟรม และ Aspect Ratio
(ต่อ) ขนาดของเฟรมจะส่งผลต่อความคมชัดของการแสดงภาพ หากเรากำหนดขนาดเฟรมให้มีขนาดเล็กเกินไปเมื่อนำมาแสดงผลก็ต้องนำมาขยาย ซึ่งถ้าขยายเกินขนาดมากไปจะทำให้เม็ดสีแตกภาพที่ได้จะไม่คมชัด เราจึงต้องกำหนดขนาดของเฟรมให้มีขนาดพอดีกับการแสดงผลด้วย

20 5. การบีบอัดข้อมูล (Compression)
ไฟล์วิดีโอเป็นการแสดงภาพที่มีความต่อเนื่อง จึงทำให้ไฟล์มีขนาดใหญ่ จึงต้องมีการบีบอัดข้อมูล เพื่อให้ขนาดไฟล์เล็กลง เรียกว่า “Codec” ไฟล์วิดีโอที่มีการเข้ารหัสที่เราได้ยินบ่อย ๆ ก็คือ MPEG-1 , MPEG-2, MPEG-4 หรือ DIV4 เป็นต้น

21 5. การบีบอัดข้อมูล (Compression) (ต่อ)
การเข้ารหัสให้กับภาพยนตร์ สามารถทำได้โดยใช้ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ เช่น การ์ด Video Capture ทั่วไป ซึ่งมี ฟังก์ชั่นในการเข้ารหัสอยู่แล้ว ซอฟต์แวร์ จะเป็นโปรแกรมที่ใช้บีบอัดไฟล์ที่อยู่ในคอมฯ แล้ว ได้แก่ Panasonic Encoder , Window Media Encoder , MpegDJ Encoder , Xing Mpeg Encoder

22 การบีบอัดข้อมูลโดยใช้ฮาร์ดแวร์
นำไฟล์วิดีโอเข้าคอมพิวเตอร์ผ่าน Capture Card การ์ด Capture ทำการ์ดบีบอัดข้อมูลให้ขนาดของไฟล์เล็กลง

23 การบีบอัดข้อมูล โดยใช้ซอฟท์แวร์
นำไฟล์วิดีโอเข้าไปยังซอฟท์แวร์บีบอัดข้อมูล ซอฟท์แวร์ทำการบีบอัดข้อมูลให้ขนาดไฟล์เล็กลง

24 ฟอร์แมตของไฟล์วิดีโอประเภทต่างๆ
AVI เป็นไฟล์มาตรฐานทั่วไปของไฟล์วิดีโอ มีความคมชัดสูง แต่ข้อเสียงคือมีขนาดใหญ่ MPEG เป็นที่นิยมเนื่องจากไฟล์มีขนาดเล็ก และคุณภาพหลากหลาย ตั้งแต่คมชัดที่สุด จนถึงอยู่ในเกณฑ์ที่รับได้ แบ่งเป็น MPEG-1 : VHS Quality และใช้กับ VCD ด้วยไฟล์มีขนาดเล็กที่สุด MPEG-2 : DVD Standard ไฟล์มีขนาดใหญ่ แต่คุณภาพคมชัดสูงเมื่อเทียบกับไฟล์ตระกูล MPEG เดียวกัน MPEG-4 : Web Format คุณภาพสูงใกล้กับ ดีวีดีแต่มีขนาดไฟล์เล็กกว่า

25 ฟอร์แมตของไฟล์วิดีโอประเภทต่างๆ
WMV เป็นฟอร์แมตไฟล์มาตรฐานของระบบปฏิบัติการ Windows ที่มีคุณภาพการแสดงผลที่ดี นิยมนำมาเผยแพร่กันบนอินเทอร์เน็ต RM เป็นฟอร์แมตไฟล์ของโปรแกรม RealOne Player ที่นิยมใช้เผยแพร่กันบทอินเทอร์เน็ต MOV เป็นฟอร์แมตไฟล์ของโปรแกรม QuickTime ผลิตขึ้นเพื่อใช้กับเครื่อง Apple แต่สามารถเปิดบนระบบปฏิบัติการ Windows ได้เช่นกัน

26 6 ขั้นตอนการสร้างงาน Video
ขั้นตอนที่ 1 วางแผน/วางโครงเรื่องทั้งหมด หรือเขียนเป็น shot lists หรือ Storyboards ขั้นตอนที่ 2 การจัดเตรียมภาพยนตร์ (ถ่ายทำภาพยนตร์) ขั้นตอนที่ 3 โอนข้อมูลจาก กล้องมายังคอมพิวเตอร์เพื่อจัดเก็บเป็นไฟล์ต้นฉบับ

27 6 ขั้นตอนการสร้างงาน Video (ต่อ)
ขั้นตอนที่ 4 ตัดต่อวิดีโอ โดยใช้โปรแกรม Adobe Premiere Pro หรือ อื่น ๆ ขั้นตอนที่ 5 Export วิดีโอ และจัดเก็บในรูปแบบของ CD-ROM หรือ ใน Format Video อื่นๆ ขั้นตอนที่ 6 ทำการ Backup Project รวมถึงไฟล์ Title graphics ลงใน CDROM

28 Storyboard คือ การจัดลำดับภาพ เช่น กลุ่มของภาพวาด หรือ กุล่มของภาพถ่าย โดยมีจุดประสงค์เพื่อเป็นภาพตัวอย่างของภาพเคลื่อนไหว ภาพยนตร์ และ interactive media ต่างๆ

29 ต้องมีอะไรบ้างใน storyboard
ภาพสเก็ต/ ภาพ graphic / ภาพถ่าย Script สั้นๆ เลขที่ Scene เพลงที่จะใส่ SFX ที่จะใส่ Caption ที่จะใส่ใน Scene Timing (ระยะเวลาแต่ละ Scene)

30

31

32

33 Storyboard for a James Bond Movie

34

35

36 ประโยชน์ของ Storyboard
ทีมงานสามารถที่จะดำเนินงานไปตามเนื้อเรื่องได้อย่างเป็นระบบ ในขั้นของการทำงาน storyboard เป็นส่วนช่วยให้ทีมงานสามารถ มองเห็นภาพ และช่วยกันคิด และ ใส่ ideas ใหม่ ๆ เพิ่มเติมได้อีก

37 ประเภทของการตัดต่อภาพยนตร์
1. การตัดต่อแบบ Linear 2. การตัดต่อแบบ Non-Linear

38 Linear Editing การตัดต่อแบบ Linear คือ การตัดต่อจากเทปวิดีโอ โดยนำเทปมาเรียงตามลำดับเรื่อง ผ่านเครื่องเล่นเทปอย่างน้อย 2 ตัว เพื่อทำการบันทึกเทปต้นฉบับไปยังเทปเปล่า การตัดต่อนั้นต้องเริ่มจากต้นเรื่องไปจนจบ ไม่สามารถกระโดยข้ามไปทำในส่วนอื่นๆ

39 Non-Linear Editing การตัดต่อแบบ Non-Linear เป็นการตัดต่อที่พัฒนามาจาการตัดต่อแบบ Linear โดยมุ่งแก้ไขปัญหาที่ไม่สามารถตัดต่อตามจุดต่างๆ หรือ แก้ไขแบบกระโดดไปมาได้ จุดเด่นคือ จะใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลัก สามารถแก้ไขหรือเลือกตัดต่อจุดใดก่อนก็ได้ และยังรองรับการจัดทำเป็นสื่อในรูปแบบดิจิตอลได้ดีอีกด้วย

40 Non-Linear Editing การตัดต่อแบบ Non-Linear กำลังได้รับความนิยมจากนักตัดต่อทั่วไป เนื่องจากสามารถตัดต่อผ่านคอมฯ รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ ในปัจจุบัน ล้วนแต่สนับสนุนการตัดต่อแบบ Non-Linear ทั้งสิ้น เช่น กล้องดิจิตอลวิดีโอ การ์ดตัดต่อ เครื่องเขียน CD


ดาวน์โหลด ppt วิดีโอ Video.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google