งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การศึกษาข้อมูลหลุม เจาะและข้อมูลน้ำ บาดาล บริเวณ ชายแดน ไทย - มาเลเซีย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การศึกษาข้อมูลหลุม เจาะและข้อมูลน้ำ บาดาล บริเวณ ชายแดน ไทย - มาเลเซีย."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การศึกษาข้อมูลหลุม เจาะและข้อมูลน้ำ บาดาล บริเวณ ชายแดน ไทย - มาเลเซีย

2 ที่มา : ข้อมูลอ้างอิงจากกรม ทรัพยากรที่ดิน

3

4 ที่มา : ข้อมูลหลุมเจาะอ้างอิงจาก www.dpt.go.th/soil/ www.dpt.go.th/soil/ ตารางแสดงข้อมูลหลุมเจาะ ต. ปากน้ำ อ. ละงู จ. สตูล

5 ที่มา : ข้อมูลหลุมเจาะอ้างอิงจาก www.dpt.go.th/soil/ www.dpt.go.th/soil/ ตารางแสดงข้อมูลหลุมเจาะ ต. ปากน้ำ อ. ละงู จ. สตูล

6 การศึกษาเรื่องการใช้ข้อมูลดินในการปรับปรุงสาธารณูประโภค จากการศึกษาระบบสาธารณูประโภค ณ บริเวณชายแดนไทย - มาเลเซียมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะทำการปรับปรุงระบบสาธารณูประโภคให้มี ประสิทธิ์ภาพดีขึ้น ซึ่งมุ้งเน้นศึกษาถึงระบบเส้นทางคมนาคมระหว่างชายแดน ไทยไปมาเลเซีย โดยนำข้อมูลหลุมเจาะจากเว็บไซด์ www.dpt.go.th/soil/ มาใช้วิเคราะห์ดิน ณ บริเวณที่จะทำการก่อสร้างทางว่ามีความเหมาะสม เพียงใดในการก่อสร้างและจะต่องออกแบบโครงสร้างถนนอย่างไร ซึ่งใน พื้นที่ที่จะศึกษานั้นไม่มีข้อมูลหลุมเจาะฉะนั้นจึงใช้ข้อมูลหลุมเจาะตำบล ปากน้ำ อ. ละงู จ. สตูลซึ่งเป็นพื้นที่ใกล้เคียงและคาดว่าน่าจะมีข้อมูลดิน ณ บริเวณ ดังกล่าวเป็นดินที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับบริเวณชายแดนไทย มาเลเซียซึ่งพื้นที่ตั้งอยู่ ละติจูด 6 องศา 51 ลิปดา 37.58 ฟิลิปดา ลองติจูด 99 องศา 43 ลิปดา 18.44 ฟิลิปดา มีพื้นที่โดยรอบ 32188.75 ไร่ และตั้งอยู่ ห่างจากบริเวณชายแดนไทยมาเลเซีย อ. วังประจัน ประมาณ 35 กม. โดยมี ข้อมูลหลุมเจาะดังนี้คือในระยะที่มีความลึกไม่มาก 1-5 เมตร จะเป็นชั้นดิน ปนทรายโดยวิเคราะห์ได้จาการนำตัวอย่างดิน ณ บริเวณนี้ไปร่อนผ่าน ตะแกรงเบอร์ 200 และเบอร์ 4 จากนั้นเมื่อขุดลึกลงไป 6 เมตรเป็นต้นไป จะ พบว่าส่วนใหญ่เป็นดินเหนียวซึ่งวิเคราะห์ได้จาค่า PI และค่า LL และจา การศึกษาข้อมูลหลุมเจาะบริเวณนี้ในหลุมเจาะที่สองมีความลึก 16 เมตรยัง เป็นข้อมูลที่มีความผิดพลาดอยู่และเมื่อนำข้อมูลหลุมเจาะที่ตำบล ปากน้ำ อ. ละงู จ. สตูล มาวิเคราะห์ถ้าจะสร้างถนนพบว่าบริเวณนี่สามารถสร้างถนนได้www.dpt.go.th/soil/

7 ลำดั บ เลข บ่อ สถานที่ เจาะ อำเ ภอ ตำบ ล ความลึก ( เมตร ) ระดับน้ำ ปกติ ( เมตร ) ระยะ น้ำ ลด ( เมต ร ) ปริมา ณน้ำ ( ลบ. ม / ชม.) เหล็ ก ( มก. / ลิตร ) คลอ ไรด์ ( มก./ ลิตร ) ความ กระด้า ง ( มก./ ลิตร ) สารล ะลาย ( มก. / ลิตร ) 1 AFD 933 0 ตะโล๊ะใสละงู ปาก น้ำ 24.393.0518.294.55.00 2 DO H19 741 ท่ามาลัยละงู ปาก น้ำ.00 3 DO H19 742 ตะโล๊ะใสละงู ปาก น้ำ.00 4 DO H19 743 ท่ามาลัยละงู ปาก น้ำ.00 5 DO H19 744 ตะโล๊ะใสละงู ปาก น้ำ.00 6 DO H19 745 ท่ามาลัยละงู ปาก น้ำ.00 7 H29 8 โรงเรียน บ้านตะ โละไส ละงู ปาก น้ำ 42.001.2033.602.27 16.0 0 1,28 2.00 546.00 3,05 6.00 8 ME 30 โรงเรียน บ้านปาก บารา ละงู ปาก น้ำ 42.00.00 9 MX 201 บ้านปาก บารา ละงู ปาก น้ำ 60.00.00 ตารางแสดงข้อมูลน้ำบาดาล ที่มา : ข้อมลูอ้างอิงจาก www.dgr.go.th www.dgr.go.th

8 ลำ ดับ เลขบ่อ สถาน ที่เจาะ อำเภ อ ตำบล ความลึก ( เมตร ) ระดับ น้ำ ปกติ ( เมตร ) ระยะ น้ำ ลด ( เมต ร ) ปริมา ณน้ำ ( ลบ. ม / ชม.) เหล็ ก ( มก. / ลิตร ) คลอ ไรด์ ( มก./ ลิตร ) ความ กระด้า ง ( มก./ ลิตร ) สารล ะลาย ( มก. / ลิตร ) 1 AFD93 19 ห้วย ไทร ละงู 60.983.0524.391.14.00 2 AFD93 20 ห้วย มะพร้า ว ละงู 42.681.5218.292.27.00 3 AFD93 21 นา พญา ละงู 42.686.1018.291.14.00 4 AFD93 22 ใน เมือง ละงู 36.593.0521.344.55.00 5 AFD93 23 บากัน โต๊ะ ทิด ละงู 36.59.00 6 AFD93 24 รร. ระงู วิทยา คม ละงู 30.493.0518.297.95.00 7 DCD16 964 ห้วย ไทร ละงู 39.003.0014.004.50.00 8 DCD16 965 ปากละ งู ละงู 29.004.0015.003.40.00 9 DCD16 966 ท่า ชะมว ละงู 18.004.5010.501.82.00 10 DOH19 746 ทุ่งละงู.00 ตารางแสดงข้อมูลน้ำบาดาล ที่มา : ข้อมลูอ้างอิงจาก www.dgr.go.th www.dgr.go.th

9 จากการศึกษาข้อมูลน้ำบาดาล ที่บริเวณ จังหวัด สตูล อำเภอ ละงู ซึ่งได้ทำการศึกษาทั้งหมด 2 ตำบล รวม 19 หลุมเจาะ ความลึกของระดับน้ำ บาดาลโดยประมาณแล้วอยู่ที่ระดับ 35-45 เมตรซึ่ง บริเวณนี้ไม่มีแหล่งน้ำผิวดินที่เพียงพอต่อการสร้าง ถนนและอุปโภคบริโภคสำหรับคนงานก่อสร้างดังนั้น เราจึงต้องเจาะดินลึกลงไปประมาณ 35- 45 เมตรเพื่อ ดูดน้ำบาดาลมาใช้ในการสร้างถนนและอุปโภคบริโภค จึงสามารถจะทำถนนเส้นนี้ได้


ดาวน์โหลด ppt การศึกษาข้อมูลหลุม เจาะและข้อมูลน้ำ บาดาล บริเวณ ชายแดน ไทย - มาเลเซีย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google