งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต
American Heart Association (AHA) Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation (CPR) and Emergency Cardiovascular Care (ECC) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2553 พญ.พชรวรรณ ลีลาภิรมย์ชัย กุมารแพทย์ รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี 12 ก.ย. 2557

2 CPR (Cardiopulmonary Resuscitation)
“Call fast” not “Call first” “CAB” not “ABC”

3

4

5 ประเมินการตอบสนอง

6 ผู้ป่วยไม่ตอบสนอง  ตรวจชีพจร (ภายใน 10 วินาที)
ผู้ป่วยไม่ตอบสนอง  ตรวจชีพจร (ภายใน 10 วินาที) อายุ <1 ปี อายุ > 1 ปี

7 **พบมีชีพจร  เปิดทางเดินหายใจ
กดหน้าผาก - เฉยคาง ยกกราม (Head tilt-chin lift) (Jaw thrust)

8 ช่วยหายใจ อายุ < 1 ปี อายุ > 1 ปี
อายุ < 1 ปี อายุ > 1 ปี เป่าปาก 1 ครั้ง ทุก 3 วินาที (ประมาณ 20 ครั้ง/นาที) ตรวจชีพจรทุก 2 นาที กดหน้าอกทันที เมื่อ หัวใจเต้นช้า หรือ สีผิวเขียวคล้ำ

9 **ไม่พบชีพจร/หายใจเฮือก  กดหน้าอก
อายุ < 1 ปี ตำแหน่ง - ต่ำกว่าระดับราวหัวนมเล็กน้อย การวางนิ้ว ปลายนิ้วชี้ + นิ้วกลาง นิ้วโป้งสองนิ้วกด นิ้วที่เหลือโอบรอบตัว

10 การกดหน้าอก ตำแหน่ง : ครึ่งล่างของกระดูกหน้าอก
การวางมือ : ประสานสองมือซ้อนกัน กดโดยใช้ส้นมือ อายุ 1-8 ปี

11

12 การกดหน้าอกอย่างมีคุณภาพ high-quality chest compressions
กดด้วยอัตราเร็ว อย่างน้อย 100 ครั้งต่อนาที ความลึกในการกด อย่างน้อย 2 นิ้ว (5 ซม.) ในผู้ใหญ่ อย่างน้อย 1/3 ของความหนาของหน้าอกในทารกและเด็ก(1.5 นิ้ว หรือ [4 ซม.] ในทารก และ 2 นิ้ว [5 ซม.] ในเด็ก) ปล่อยให้อกคืนตัวสุดหลังการกดแต่ละครั้ง ลดการหยุดกดหน้าอกให้น้อยที่สุด หรือกดหน้าอกต่อเนื่องกันให้ได้มาก ที่สุด อัตราส่วนของการกดหน้าอกต่อการช่วยหายใจ = 30:2

13

14 Bag-mask ventilations

15 Equipment Self-inflating bag
infants and young children : volume 450 to 500 ml children or adolescents : 1000 mL O2 flow L/min via reservoir bag or corrugated tube 6 cm ETT < 8 years  uncuff No. of ETT = age(yr)/4 +4 >8 years  cuff No. of ETT = age(yr)/ Depth 3-fold of no.ETT or age(yr)/ (>2 year) Blade < 2 years : Miller blade, > 2years : Macintoch blade

16 การสำลักสิ่งแปลกปลอม
Foreign body aspiration อุบัติการสูงสุดในช่วยอายุ 1-2 ปี เด็กอายุ 1-2 ปี สามารถยืนและใช้ปากในการสำรวจสิ่งของ ใช้มือในการจับสิ่งของชิ้นเล็กได้ดี แต่ฟันกรามยังไม่พัฒนาในการเคี้ยวอาหารได้ดี สิ่งแปลกปลอมที่พบ คือ อาหาร เหรียญ คลิปหนีบกระดาษ เข็มหมุด ลูกแก้ว ของเล่นชิ้นเล็ก อุดกั้นทางเดินหายใจ หรือ ทางเดินอาหาร

17 สิ่งแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจ
ประวัติ ผลที่เกิดขึ้น ประวัติสำลักอาหารชัดเจน ไอมาก หายใจลำบาก หายใจเสียงดัง หรือ เสียงแหบ เด็กเล็ก  ปาก/ตัวเขียวคล้ำ ขาดอากาศ ปอดแฟบ / โป่งพอง ปอดอักเสบติดเชื้อ ถ้ามีการอุดกั้นแบบสมบูรณ์จะทำ ให้เสียชีวิตได้อย่างรวดเร็ว ***

18 การช่วยเหลือเบื้องต้น
หมดสติ ไม่หมดสติ ไม่พบชีพจร  CPR พบชีพจร  ถ้าเห็นสิ่งแปลกปลอม ให้นำ ออก และช่วยเปิดทางเดินหายใจ  ไม่เห็นสิ่งแปลกปลอม ให้ ทำการกระแทกให้สิ่งแปลกปลอม หลุดออกมา*** รีบนำส่งโรงพยาบาลทันที เพื่อประเมินการอุดกั้นและนำ สิ่งแปลกปลอมออก หากไม่มีอาการแล้ว แต่สงสัย อาจมีการสำลัก ให้พบแพทย์ เพื่อพิจารณาตรวจเพิ่มเติม

19 เด็กเล็ก อายุ < 1 ปี กระแทกหลังกลางสะบัก 5 ครั้ง กดหน้าอก 5 ครั้ง
ทำสลับกัน จนกว่าจะเห็นสิ่งแปลกปลอมหลุดออกมา ขณะเดียวกันรีบเรียกรถพยาบาลเพื่อนำส่งโรงพยาบาล

20 เด็กโต หรือ ผู้ใหญ่ : ใช้กำปั้นกระแทกบริเวณลิ้นปี่
ทำสลับกัน จนกว่าจะเห็นสิ่งแปลกปลอมหลุดออกมา ขณะเดียวกันรีบเรียกรถพยาบาลเพื่อนำส่งโรงพยาบาล

21 Take home message


ดาวน์โหลด ppt แนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google