งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557

2 การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
ประเด็น รายละเอียด เป้าประสงค์ เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ จากการได้รับการดูแลอย่างครบวงจร วัตถุประสงค์ ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟู ได้รับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ และได้รับอุปกรณ์ที่เหมาะสม พร้อมทั้งการฝึกการใช้อุปกรณ์เฉพาะราย เป้าหมาย คนพิการทุกประเภทเข้าถึงบริการฟื้นฟูฯ และได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการที่เหมาะสมอย่างครอบคลุมและทั่วถึง มีการติดตามผลการใช้เครื่องช่วยฟังของผู้ที่ได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยฟัง คนพิการทางการมองเห็นได้รับการฝึกทักษะ O&M กองทุนฟื้นฟูฯ จังหวัด มีการบริหารจัดการและส่งเสริมการเข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ องค์กรคนพิการได้รับการพัฒนาให้มีส่วนร่วมด้านการฟื้นฟู อย่างน้อย 3 ประเภทความพิการต่อเขต

3 สิ่งที่แตกต่างจากปี 2556 รายละเอียด ปี 57 1. งบประมาณ
งบค่าบริการ/อุปกรณ์ จัดสรรไม่น้อยกว่า บาท/ปชก.UC งบสนับสนุนส่งเสริม จัดสรรไม่เกิน 1.50 บาท/ปชก.UC เกณฑ์คำนวณการจัดสรร 2.1 งบค่าบริการฟื้นฟูฯและอุปกรณ์เครื่องช่วยตามจำนวนปชก.UC : ท.74 : ผลงานการให้บริการ สัดส่วน 30:40:30 2.2 งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ ตามจำนวนปชก.UC:ท.74 สัดส่วน 50:50 2.3 แยกงบเฉพาะบริการ O&M และจัดสรรเครื่องช่วยฟัง 2. การจัดบริการ 1) บริการเครื่องช่วยฟัง กำหนดโควตาให้แต่ละพื้นที่ตามความจำเป็นของความต้องการ และความสามารถในการให้บริการของหน่วยบริการ วงเงินสนับสนุน ร้อยละ 10 ของงบค่าอุปกรณ์และบริการฟื้นฟูฯ 1.2 โครงการนำร่องโดยความร่วมมือกับ NECTEC เป้าหมาย 1,000 เครื่อง/ พื้นที่เป้าหมาย/หน่วยบริการ คัดเลือกจากหน่วยบริการที่มีความพร้อม ตามความสมัครใจทุกเขต 2) อุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ สนับสนุนตามบัญชีรายการอุปกรณ์ที่ประกาศ และ รายการซ่อมแซม ยกเลิกรายการอื่นๆ ตามความจำเป็น 3. การจัดสรร ค่าบริการ 1) จัดสรรให้หน่วยบริการ ตามผลงานการให้บริการ ภายในวงเงินที่ได้รับ จัดสรร 2 งวด งวดที 1) จัดสรรล่วงหน้า 60% ตามผลงานที่ผ่านมา ภายใน ธค.56 งวดที่ 2) จัดสรรตามผลงานการให้บริการ (คำนวณปิด Global ผลงาน 3 เดือนสุดท้าย ของปี56+9 เดือนของปี57) ภายในเดือน สค.57 2) กรณีรับบริการข้ามเขต - สปสช.เขต ส่งเบิกจากงบส่วนกลาง 3) กำหนดอัตราจ่ายชดเชยค่าบริการ การให้บริการฟื้นฟูรายกลุ่มในแต่ละกิจกรรม

4 กรอบการบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพฯ ปี 2557
เหมือนปี2556 งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (14.95 บาทต่อผู้มีสิทธิ / ลบ. POP UC = ล้านคน งบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์ เครื่องช่วยความพิการ (ไม่น้อยกว่า บาท/ ลบ.) งบสนับสนุนและส่งเสริม การจัดบริการ (ไม่เกิน 1.50 บาท/ ลบ.) สำหรับหน่วยบริการ องค์กรคนพิการ และกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการของหน่วย บริการตามความพร้อม ส่งเสริมศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแล ส่งเสริมระบบบริการในชุมชนร่วมกับ อปท. ส่งเสริมกำลังคนด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ ส่งเสริมการจัดบริการรูปแบบใหม่และพัฒนา องค์ความรู้ สำหรับหน่วยบริการ และกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ (จัดหา ผลิต ซ่อม) ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการผู้สูงอายุ ผู้ป่วย sub acute (บริการผู้ป่วย OPD และในชุมชน) ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ

5 งบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ
1) ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ  เฉพาะบริการผู้ป่วยนอก (OPD) และในชุมชน  จ่ายตามผลงานการให้บริการ ภายใต้กรอบวงเงินที่ได้รับจัดสรร ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และอัตราที่กำหนด ภายใต้การบริหารจัดการของเขต  เกณฑ์การจัดทำข้อมูลเพื่อขอรับการจัดสรร - ข้อมูลส่วนบุคคล, สิทธิ UC, วดป.ที่ให้บริการ - ใช้รหัสวินิจฉัยโรคตาม ICD-10 - ใช้รหัสหัตถการตาม ICD-9  การส่งข้อมูล - ส่งผ่านโปรแกรมบันทึกข้อมูลรายงานอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ - ภายใน 30 วัน หลังให้บริการ อัตราการจ่ายค่าบริการ รายกลุ่ม - กิจกรรมบำบัด ครั้งละ 75 บาท พฤติกรรมบำบัด ครั้งละ บาท จิตบำบัด ครั้งละ 150 บาท

6 2) ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ
 เป็นค่าใช้จ่ายในการจัดหาอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการให้กับคนพิการ ตามจำนวนเป้าหมายในแต่ละเขต และจ่ายไม่เกินราคากลางที่ สปสช กำหนด  ตามบัญชีรายการอุปกรณ์ที่ประกาศและรายการซ่อมแซม  เกณฑ์การจัดทำข้อมูลเพื่อขอรับการจัดสรร - ใช้รหัสวินิจฉัยโรคตาม ICD-10 - ใช้รหัสหัตถการตาม ICD-9 - ข้อมูลส่วนบุคคล, สิทธิ ท.74, วดป.ที่ให้บริการ  การส่งข้อมูล - ส่งผ่านโปรแกรมบันทึกข้อมูลรายงานอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ - ภายใน 30 วัน หลังการให้บริการ

7 แนวทางการจัดบริการเครื่องช่วยฟังสำหรับคนพิการ
1) การจัดบริการในกรณีปกติ หน่วยบริการที่ขอรับค่าใช้จ่ายในการให้บริการต้องปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์และมาตรฐานการใส่เครื่องช่วยฟัง ที่สปสช.กำหนด - หน่วยบริการแจ้งความจำนงการให้บริการ ตามแบบฟอร์มที่สปสช.กำหนด (เฉพาะหน่วยบริการใหม่) - สปสช.เขต ตรวจประเมินความพร้อมตามเกณฑ์ และรายงานผลหน่วยบริการ ที่ผ่านการตรวจประเมินความพร้อม  วงเงินสนับสนุนเครื่องช่วยฟัง 10% จากงบอุปกรณ์ฯที่สปสช.เขต ได้รับจัดสรร  เงื่อนไขการได้รับค่าใช้จ่าย - เมื่อมีรหัสโรค รหัสหัตถการตามที่กำหนด รหัสโรคหลัก H900, H903, H906, Z461 รหัสหัตถการ (ถ้ามี +21 เฉพาะเด็ก )

8 แนวทางการจัดบริการเครื่องช่วยฟังสำหรับคนพิการ
2) การจัดบริการในโครงการนำร่อง - เป้าหมายการให้บริการเครื่องช่วยฟัง 1,000 เครื่อง - พื้นที่/เป้าหมาย หน่วยบริการที่มีความพร้อมและสนใจ คัดเลือกโดย สปสช. ส่วนกลางร่วมกับเขตและประสานหน่วยบริการแจ้งความจำนงเข้าร่วม โครงการ ภายในเดือน ธันวาคม 2556 - หน่วยบริการไม่ต้องสำรองจ่ายเงินก่อน - NECTEC/บริษัทผลิตจัดส่งเครื่องช่วยฟังให้หน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการ - สปสช. ร่วมกับ NECTEC ติดตามผลการดำเนินงานโครงการนำร่อง

9  ค่าพัฒนาและบริหารจัดการระยะเริ่มแรกศูนย์ละ 100,000 บาท
3) ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์และฝึกทักษะการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อม และการเคลื่อนไหว (O&M)  เป็นค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการและองค์กรที่ร่วมดำเนินงานจัดบริการฝึกใช้ อุปกรณ์เครื่องช่วยที่จำเป็นให้กับคนพิการ เป้าหมาย 3,000 ราย  ค่าฝึกใช้อุปกรณ์และฝึกทักษะความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมฯ (O&M) รายละ 9,000 บาท จ่ายตามผลงานการให้บริการจริงจากหน่วยบริการ  ค่าพัฒนาและบริหารจัดการระยะเริ่มแรกศูนย์ละ 100,000 บาท  การส่งข้อมูล - ส่งผ่านโปรแกรมบันทึกข้อมูลรายงานอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ

10 กรอบระยะเวลาการจัดสรรงบ
 งวดที่ 1 จัดสรรล่วงหน้า 60% ภายในเดือน ธค.56 ประมาณการจากผลงานการให้บริการในปีที่ผ่านมา  งวดที่ 2 จัดสรรจริงตามผลงานการให้บริการ ภายในเดือน สค.57 ใช้ผลงาน 3 เดือนสุดท้ายของปี 56 และผลงาน 9 เดือน ของปี 57

11 งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ
 เป็นการสนับสนุนเงินให้กับหน่วยบริการ และองค์กรคนพิการ เพื่อการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ครอบคลุมกิจกรรม ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการของหน่วยบริการตามความพร้อม ส่งเสริมศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแล ส่งเสริมระบบบริการในชุมชนร่วมกับ อปท. ส่งเสริมกำลังคนด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ ส่งเสริมการจัดบริการรูปแบบใหม่และพัฒนาองค์ความรู้  รูปแบบการจ่าย ตามแผนงาน/โครงการที่ได้รับการสนับสนุน

12 กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัด
 จัดสรรงบให้กองทุนตามจำนวน ปชก.UC ของจังหวัด ในสัดส่วนที่เท่ากัน (จากงบอุปกรณ์/บริการฟื้นฟูฯ และงบส่งเสริมสนับสนุนการจัดบริการฟื้นฟูฯ)  กองทุนดำเนินงานตามประกาศหลักเกณฑ์กองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด เน้น - สนับสนุนให้มีศูนย์ผลิต และซ่อมกายอุปกรณ์ - การสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรคนพิการ - สนับสนุนการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพในชุมชนและคุณภาพชีวิต  การติดตามผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุนฯ

13 การกำกับติดตามผลการดำเนินงาน
การกำกับติดตามในด้าน - การจัดสรรและเบิกจ่ายงบกองทุนส่วนกลาง เขต - ผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย ตัวชี้วัด รายไตรมาส รายปี เครื่องมือ/วิธีการกำกับติดตาม - KPI - การตรวจเยี่ยม/นิเทศ/การติดตามในพื้นที่ของเขต/ ส่วนกลาง/คณะอนุกรรมการ/คณะกรรมการ

14 ข้อมูลการกำกับติดตาม
รายการ แหล่งข้อมูล 1. บริการฟื้นฟูฯ และการสนับสนุนอุปกรณ์ เครื่องช่วยความพิการ โปรแกรมรายงานอุปกรณ์คนพิการและการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ 2. กองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด โปรแกรมรายงานอุปกรณ์คนพิการและการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ และ excel file 3. งบส่งเสริมสนับสนุนการจัดบริการฟื้นฟู รายงานผลงานตามสัญญา/ข้อตกลง/โครงการ ตามแบบฟอร์มที่กำหนด

15 แนวทางบริหารงบ สปสช.เขต 8 อุดรานี

16 กรอบบริหารงบ 66,634,857 ปรับเกลี่ยทุกรายการ
07/04/60 กรอบบริหารงบ 66,634,857 1. สนับสนุนกองทุนฟื้นฟูที่จำเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัด บ./ปชก.UC 2.การบริหารจัดการในระดับเขต 2.2การส่งเสริมและสนับสนุนบริการ (จำนวน 5,833,864บาท) 2.1บริการกายอุปกรณ์และการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ หากสมทบน้อยกว่า 8 บ./ปชก. UC ปรับไปหมวด 2.1 กันงบจัดสรรเพิ่มเติมกายอุปกรณ์และบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ บริการฝึกทักษะ O&M ชดเชยบริการเครื่องช่วยฟัง ปรับเกลี่ยทุกรายการ

17 กรอบแนวทางบริหารจัดการกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ
07/04/60 กรอบแนวทางบริหารจัดการกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ

18 07/04/60 วัตถุประสงค์ (1) 1. เพื่อให้คนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่อยู่ ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพและกายอุปกรณ์ทางการแพทย์ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ และรายการที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติประกาศกำหนด 2. เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟู สมรรถภาพของหน่วยบริการทุกระดับในจังหวัดนั้น 3. เพื่อสนับสนุนการพัฒนารูปแบบการดูแล ช่วยเหลือ สนับสนุนและฟื้นฟูสมรรถภาพฯ ในระดับชุมชนและในครอบครัว ที่สามารถเชื่อมโยงกับระบบบริการของหน่วยบริการอย่างทั่วถึงในเขตจังหวัดนั้น

19 07/04/60 วัตถุประสงค์ (2) 4. เพื่อสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพและความเข้มแข็งขององค์กรคนพิการ และองค์กรผู้สูงอายุ และองค์กรอื่นๆ ให้สามารถร่วมมือกับหน่วยบริการและมีส่วนร่วมดู แลสุขภาพ ช่วยเหลือคนพิการ ผู้สูงอายุและผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยกันเองได้ในระยะยาว 5. เพื่อสนับสนุนให้คนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ ได้รับบริการขั้นพื้นฐานให้สามารถดำรงชีวิตประจำวันได้อย่างอิสระ 6. เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนาบริการฟื้นฟู สมรรถภาพด้านการแพทย์ให้มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของค่าใช้จ่ายทั้งหมดของบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ในรอบปีงบประมาณนั้น

20 ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI
Target 1 ร้อยละของการติดตามผลการใช้เครื่องช่วยฟังของผู้ที่ได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยฟัง 90% 2 ร้อยละสะสมของคนพิการทางการมองเห็นได้รับการฝึกทักษะ O&M 13% (3,000 ราย) 3 จำนวนกองทุนฟื้นฟูฯ จังหวัด ที่มีการบริหารจัดการและส่งเสริมการเข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ 60% 4 องค์กรคนพิการได้รับการพัฒนาให้มีส่วนร่วมด้านการฟื้นฟูอย่างน้อย 3 ประเภทความพิการ/เขต ทุกจังหวัด 5 ร้อยละคนพิการที่ได้รับการประเมินความพิการโดยใช้รหัส ICF 80%


ดาวน์โหลด ppt การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google