งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารจัดการ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2558

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารจัดการ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2558"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารจัดการ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2558
นำเสนอในการประชุมชี้แจงเรื่อง การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2558 ในวันที่ 21 ตุลาคม 2557 ณ โรงแรมเซ็นทรา ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ วรชัย อึ้งอภินันท์

2 มติคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 8/2557 วันที่ 22 กันยายน 2557 เรื่อง หลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการ กองทุนฯ ปีงบประมาณ 2558

3 ตารางเวลาในการจัดทำข้อเสนอ งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2558
วดป. รายการ ต.ค.56 สปสช. ประสานสำนักงบประมาณเกี่ยวกับกรอบวงเงินและเป้าหมายที่ได้รับงบประมาณปี 2558 16 ต.ค.56 คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง แจ้งกรอบเวลาการจัดทำข้อเสนองบกองทุนปี 2558" 5,12,20 พ.ย.56 สปสช. ผู้เชี่ยวชาญ และผู้เกี่ยวข้อง จัดทำข้อเสนองบกองทุนปี 2558 (ตรวจสอบข้อมูลและประมาณการงบกองทุนฯ) 7 พ.ย.56 คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พิจารณา "นโยบายงบประมาณในการจัดทำข้อเสนองบกองทุนฯ ปี 2558" และ "กรอบเวลาการจัดทำข้อเสนองบกองทุนฯ ปี 2558" เริ่ม พ.ย.56 คณะอนุกรรมการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ดำเนินการรับฟังความคิดเห็นฯ ตามมาตรา 18(13) พ.ย.-ธ.ค.56 อนุกรรมการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ อนุเอดส์ แผนไทย PP ฯลฯ เสนอข้อเสนองบประมาณปี 2558 มายังอนุกรรมการการเงินการคลัง 15 พ.ย.56 ประชุมผู้เชียวชาญเพื่อทบทวนและตรวจสอบการประมาณการงบกองทุนฯ ปี 2558 (Peer review) 21 พ.ย.56 คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน รับทราบ "นโยบายงบประมาณในการจัดทำข้อเสนองบกองทุนปี 2558 ตามมติ board" 20 ธ.ค.56 คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง พิจารณา "ข้อเสนองบกองทุนปี ครั้งที่ 1" 10 ก.พ.57 คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง พิจารณา "ข้อเสนองบกองทุนปี ครั้งที่ 2" 4 มึ.ค.57 คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง พิจารณา "ข้อเสนองบกองทุนปี ครั้งที่ 3" 20 มี.ค.57 คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน ให้ข้อคิดเห็น "(ร่าง) ข้อเสนองบกองทุนปี 2558" 3 เม.ย.57 คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พิจารณา "ข้อเสนองบกองทุนปี 2558" เม.ย.57 จัดทำเอกสารข้อเสนองบกองทุนปี 2558 เสนอคณะรัฐมนตรี ประชุมร่วมกับสำนักงบประมาณ เพื่อทำความเข้าใจในรายละเอียดการคำนวณ/ตรวจสอบข้อมูลการคำนวณ เม.ย.- พ.ค.57 สำนักงบประมาณเสนอกรอบงบประมาณรายจ่ายประจำปีเข้า ครม. และปรับกระบวนการตามแนวทางของ คสช. และ สนช.

4 ตารางเวลาในการจัดทำแนวทาง การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2558
วัน/เดือน/ปี กิจกรรมหลัก 31 มี.ค.-1 เม.ย.57 ครั้งที่ 1 ประชุมร่วมกับสปสช.เขต และ สปสช.ส่วนกลางเพื่อสรุปปัญหาอุปสรรคการบริหารกองทุนฯ ปีที่ผ่านมา และหารือประเด็นการบริหารระดับเขต/บริหารเขตสุขภาพ 1-2 พ.ค.57 ครั้งที่ 2 ประชุมร่วมกับสปสช.เขต และ สปสช.ส่วนกลางเพื่อจัดทำข้อเสนอการบริหารกองทุนฯ ปี 2558 12 พ.ค.57 ครั้งที่ 1 คณะกรรมการนโยบายและยุทธศาสตร์ สปสช. พิจารณา (ร่าง) แนวทางการบริหารงบกองทุนฯ ปี 2558 14 พ.ค.57 ประชุมรับฟังความเห็นทั่วไปจากผู้ให้บริการและผู้รับบริการ (ระดับประเทศ) ปี 2557 16 พ.ค.57 ครั้งที่ 3 ประชุมร่วมกับสปสช.เขต และ สปสช.ส่วนกลางเพื่อสรุปกรอบข้อเสนอการบริหารกองทุนฯ ปี 2558 26 พ.ค.57 ครั้งที่ 2 คณะกรรมการนโยบายและยุทธศาสตร์ สปสช. พิจารณา (ร่าง) แนวทางการบริหารงบกองทุนฯ ปี 2558 1 ส.ค.57 ครั้งที่ 1 อนุกรรมการการเงินการคลังพิจารณา (ร่าง) แนวทางการบริหารงบกองทุนฯ ปี 2558 20 ส.ค.57 ครั้งที่ 2 อนุกรรมการการเงินการคลังพิจารณา (ร่าง) แนวทางการบริหารงบกองทุนฯ ปี 2558 28 ส.ค.57 ครั้งที่ 3 อนุกรรมการการเงินการคลังพิจารณา (ร่าง) แนวทางการบริหารงบกองทุนฯ ปี 2558 22 ก.ย. 57 เสนอคณะกรรมการหลักประกันฯ พิจารณา แนวทางบริหารงบกองทุนฯ ปี 2558 16 ต.ค.57 เสนอคณะกรรมการควบคุมฯ เพื่อให้ความเห็น (ร่าง) แนวทางการบริหารกองทุนฯ ปี2558 24 ก.ย.57 เสนอประกาศการบริหารงบกองทุนฯ ปี 2558 ให้ประธานคณะกรรมการลงนาม ก.ย. 57 แจ้งเวียนประกาศการบริหารงบกองทุนฯ ปี 2558 –ฉบับลงนาม สำนัก/แผนงานจัดทำเนื้อหาคู่มือบริหารงบกองทุนฯ ปี 2558 จัดพิมพ์คู่มือบริหารงบกองทุนฯ ปี 2558 17 ก.ย.,13 ต.ค. 57 ประชุมชี้แจงแนวทางการบริหารงบกองทุนฯ ปี แก่ สปสช.เขต 20-21 ต.ค.57 ประชุมชี้แจงแนวทางการบริหารงบกองทุนฯ ปี 2558 แก่หน่วยบริการทุกจังหวัด

5 การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน
ตามกรอบกฎหมาย - ม.50(4) คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน เสนอแนะอัตราราคากลางของโรคทุกโรคต่อคณะกรรมการหลักประกันฯ เพื่อประกอบการวางหลักเกณฑ์กำหนดค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ให้แก่หน่วยบริการตามมาตร 46(1) ” มาตรา ๔๖ หน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการตามมาตรา ๔๔ และหน่วยบริการที่รับส่งต่อผู้รับบริการ มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขจากกองทุนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด หลักเกณฑ์การกำหนดค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขตามวรรคหนึ่ง ต้องผ่านการรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา ๑๘(๑๓) ก่อน และอย่างน้อยต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไข ดังต่อไปนี้ อาศัยราคากลางที่เป็นจริงของโรคทุกโรคมาเป็นฐานตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน ครอบคลุมถึงค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการในส่วนเงินเดือนและค่าตอบแทนบุคลากร คำนึงถึงความแตกต่างในภารกิจของหน่วยบริการ คำนึงถึงความแตกต่างในกลุ่มผู้รับบริการและในขนาดของพื้นที่บริการที่หน่วยบริการรับผิดชอบ

6 กรอบและแนวคิดหลัก ในการกำหนดหลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุน
การกำหนดหลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุน จะต้อง กำหนดภายใต้กรอบแนวคิดที่สำคัญ คือ กรอบตามกฎหมาย -> ตาม พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 มาตรา 7, 8, 18(1), 18(4), 18(13) , 38, 41, 46, 47 ตามแนวคิดพื้นฐานของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ความเป็นธรรมตาม Health Need ของประชาชน และพื้นที่ ดำเนินการ ประสิทธิผลและคุณภาพของผลงานบริการสาธารณสุข การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการร่วมดำเนินงานหลักประกัน สุขภาพและการบริการสาธารณสุข ประสิทธิภาพการบริหารค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข

7 กรอบตามกฎหมายในการกำหนดแนวทาง การบริหารกองทุน (ต่อ)
ตาม พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๕ มาตรา ๑๘ คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) กำหนดมาตรฐานการให้บริการของหน่วยบริการ และเครือข่ายหน่วยบริการ และกำหนดมาตรการในการ ดำเนินงานเกี่ยวกับหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้มีประสิทธิภาพ (๔) กำหนดหลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุน (๑๓) จัดประชุมเพื่อให้คณะกรรมการรับฟังความคิดเห็นโดยทั่วไปจากผู้ให้บริการและผู้รับบริการเป็นประจำทุกปี มาตรา ๓๘ ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรียกว่า “กองทุนหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ” มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย สนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ เพื่อเป็นการส่งเสริมให้บุคคลสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ ให้ใช้จ่าย เงินกองทุนโดยคำนึงถึงการพัฒนาการบริการสาธารณสุขในเขตพื้นที่ที่ไม่มีหน่วยบริการเพียงพอหรือมีการกระจาย หน่วยบริการอย่างไม่เหมาะสมด้วย

8 กรอบตามกฎหมายในการกำหนดแนวทาง การบริหารกองทุน (ต่อ)
มาตรา ๔๗ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับบุคคลในพื้นที่ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วน ร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น ให้ คณะกรรมการสนับสนุนและประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำหนดหลักเกณฑ์ เพื่อให้องค์กรดังกล่าวเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพใน ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุน

9 สรุปหลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการ กองทุนปีงบประมาณ 2558 ที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2557

10 เงินกองทุนปี 2558 ที่ได้รับ
จำนวนประชากรสิทธิUC ลดลง รายการเหมาจ่ายรายหัวได้รับอัตราเท่าปี 2557 เงินกองทุนโดยรวมที่ส่งให้ สปสช. ลดลง ล้านบาท รายการ ปี 2557 [ได้รับ] ปี [จะได้รับ] ผลต่าง ปี58>ปี57 % growth 1. งบเหมาจ่ายรายหัว (ล้านบาท) - จำนวนประชากรสิทธิ UC (คน) 48,852,000 48,606,000 -246,000 -0.5% - อัตราเหมาจ่ายรายหัว (บาท) 2,895.09 0.00 0.0% - งบเหมาจ่ายรายหัว (ล้านบาท) 141,430.92 140,718.74 2. งบบริการสุขภาพผู้ติดเชื้อ HIV และผู้ป่วยเอดส์ (ล้านบาท) 2,947.00 2,811.90 -4.6% 3. งบบริการสุขภาพผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง (ล้านบาท) 5,178.80 5,247.22 68.42 1.3% 4. งบบริการควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเรื้อรัง (ล้านบาท) 801.24 908.99 107.75 13.4% 5. ค่าบริการเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่จำเป็นต้องให้บริการในพื้นที่กันดาร พื้นที่เสี่ยงภัย หรือพื้นที่ประชากรเบาบาง (ล้านบาท) 900.00 464.80 -48.4% 6. ค่าตอบแทนกำลังคนด้านการสาธารณสุข (หน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข) เฉพาะในระบบ UC (ล้านบาท) 3,000.00 รวมทั้งสิ้น 154,257.97 153,151.66 -1,106.30 -0.7% จำนวเงินเดือนภาครัฐขั้นปกติ 38,381.29 38,188.02 ให้ใช้เงินกองทุนคงเหลือ 700.00 - คงเหลืองบกองทุนที่ส่งให้ สปสช. 115,176.67 114,963.64 -0.2% 913.03

11 ขอแปรญัตติต่อคณะกรรมาธิการงบประมาณ สนช.
หน่วยบริการต้องปรับประสิทธิภาพในการดำเนินงานเพื่อลดต้นทุน ซึ่งจะทำให้ สามารถรับภาระต้นทุนที่เพิ่มจากนโยบายค่าแรง และประชาชนเข้าถึงบริการได้ ตามปกติ จึงเสนอขออัตราเหมาจ่ายรายหัวที่ 3, บาทต่อหัว (เพิ่มจากปี = 5.7%) และจำนวนประชากรสิทธิลดลงเหลือ ล้านคน ซึ่งเมื่อ ไม่รวมค่าแรงหน่วยบริการภาครัฐในระบบ ต้องใช้บประมาณเพิ่ม 5, ล้าน บาท ของบเพิ่มเพื่อคงการใช้บริการของผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง โดยเพิ่มเป้าหมาย 3,310 ราย จะใช้งบประมาณเพิ่ม ล้านบาท รวมของบประมาณเพิ่ม 6, ล้านบาท อัตราเหมาจ่ายรายหัวที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปัจจัย อัตราเหมายจ่ายรายหัว ปี 58-สะสม อัตราเหมาจ่ายปี 57 ที่ได้รับ 2,895.09 1. ต้นทุนเพิ่มตาม inflation 99.55 2.,994.64 2. จากปริมาณบริการ 39.06 3,033.70 3. จากปรับเงื่อนไขบริการ P&P 26.46 3,060.16

12 ประเด็นสำคัญสำหรับ การบริหารจัดการงบกองทุนปี 2558
เนื่องจากเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2558 ไม่ครอบคลุมต้นทุนค่าแรง ลูกจ้างชั่วคราวของหน่วยบริการ ในส่วนที่ปรับเพิ่มกรณีค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาทต่อวัน และกรณีปริญญาตรีไม่ต่ำกว่า 15,000 บาทต่อเดือน และค่าแรงที่จะเพิ่มขึ้นจากการ ปรับลูกจ้างชั่วคราวเป็นพนักงานข้าราชการของ สธ. การได้รับค่าบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัวเท่าปีที่ผ่านมา และไม่ได้รับ งบประมาณตามเป้าหมายที่คาดการณ์ไว้ ดังนั้น ต้องเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุน โดยต้องการดำเนินการมาตรการ ต่างๆ ที่ช่วยลดต้นทุนการบริการให้ใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา ต้องเพิ่มประสิทธิภาพที่ระดับหน่วยบริการ เพื่อควบคุมต้นทุนบริการให้เหมาะสม กรณีที่จำนวนบริการมากกว่าเป้าหมายที่ได้รับงบประมาณ ทั้งที่มีการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการกองทุนและหน่วยบริการแล้ว ให้ใช้เงินคงเหลือตามระบบบัญชี เงินกองทุนรายการ “รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม”มาจ่ายได้ และ/หรือ ให้ขอ งบประมาณเพิ่มเติม

13 สรุปงบอัตราเหมาจ่ายรายหัวปี 2558
ประเภทบริการ ปี 2557 [ขาลง] ปี 2558 [ข้อเสนอ] ปี 2558 [จะได้รับ] ปี 2558 [ขาลง] หมายเหตุปี58-ขาลง 1. บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป 1,056.96 1,195.72 2. บริการผู้ป่วยในทั่วไป 1,027.94 1,247.86 998.26 ย้าย บาท ไปข้อ3 เพิ่ม 1.65 บาท จากข้อ 3 3. บริการกรณีเฉพาะ 271.33 328.11 301.01 เพิ่ม บาท จากข้อ 2 ย้าย 1.65 บาท ไปข้อ 2 4. บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 383.61 429.62 5. บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ 14.95 15.41 6. บริการแพทย์แผนไทย 8.19 9.65 7. ค่าบริการทางการแพทย์ที่เบิกจ่ายในลักษณะงบลงทุน (ค่าเสื่อมราคาของหน่วยบริการ) 128.69 8. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นตาม ม.41 3.32 6.46 9. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นผู้ให้บริการ 0.10 0.11 รวม 2,895.09 3,361.63 ผลต่างกรณีเงื่อนไขนโยบายต้นทุนที่ต่างจากปี2557 301.47 คงเหลือตามเงื่อนไขต้นทุนปี2557 3,060.17 ประชากรลงทะเบียน UC 48,852,000 48,776,000 48,606,000

14 เกณฑ์การแยกและย้ายรายการ “กรณีบริการเฉพาะ”
การแยกงบประมาณเพื่อบริหารจัดการเป็นการเฉพาะ ปกป้องการได้รับบริการนอกเครือข่ายกรณีจำเป็น เพิ่มความมั่นใจเรื่องการเข้าถึงและคุณภาพบริการ Provider financial risk protection จำเป็นต้องกำกับการใช้บริการอย่างใกล้ชิด (ยา จ.2) โรคที่ต้องบริหารแบบเฉพาะโรค การย้ายรายการเข้าระบบการจ่ายบริการทั่วไป ระบบบริการรองรับและการเข้าถึงบริการสม่ำเสมอแล้ว (การเข้าถึงบริการสม่ำเสมอ แล้ว 3 ปี มีการกระจายตัวหน่วยให้บริการดี) ระบบการจ่ายบริการทั่วไปสะท้อนต้นทุนการให้บริการเหมาะสมแล้ว

15 ปรับรายการบริการกรณีเฉพาะ ปี 2558
1. ปกป้องการได้รับบริการนอกเครือข่ายกรณีจำเป็น 1.1 OP-AE ข้ามจังหวัด 1.2 OP refer ข้ามจังหวัด (เฉพาะที่เกินเพดานที่หน่วยบริการจ่าย) 1.3 ค่าพาหนะรับส่งต่อระหว่างหน่วยบริการ 1.4 IP newborn (DRGv5) 1.5 IP-PUC/IPPRCC/SSS (DRGv5) 3. Provider financial risk protection 3.1 Instrument-OP&IP 3.2 สารประกอบเลือดเข้มขัน สำหรับ Hemophilia 3.3 Hyperbaric O2-OP&IP 3.4 NONI (การวินิจฉัยราคาแพงและหัตถการโรคหัวใจและหลอดเลือดของบริการแบบ Ambulatory care) 3.5 Corneal transplantation 3.6 การปลูกถ่ายอวัยวะ - Liver transplant ในเด็ก - Heart transplant - BMT/Stem cell 2. เพิ่มความมั่นใจเรื่องการเข้าถึงและคุณภาพบริการ 2.1 Dialysis สำหรับ acute case-OP&IP 2.2 ยา OI [Crypto/CMV]-OP/IP (ย้ายเข้าระบบปกติ) 2.3 ยาละลายลิ่มเลือด ( STEMI, Stroke) 2.4 Leukemia & Lymphoma [รายใหม่] (ย้ายไปรวมกับ Chemo/Radio-OP&IP) 2.5 Chemo/Radio-OP&IP (รวมมะเร็งทุกอวัยวะ และเริ่มรวม IP ตั้งแต่ปี58) 2.6 Cataract [all] รวมเลนส์ 2.7 Laser project for diabetic retinopathy 2.8 Asthma & COPD 2.9 ทันตกรรมจัดฟันและฝึกพูดสำหรับผู้ป่วยผ่าตัดปาก แห่วงเพดานโหว่ 4. จำเป็นต้องกำกับการใช้บริการอย่างใกล้ชิด 4.1 ยา Methadone สำหรับ MMT 4.2 ยา จ.2 , ยา CL, ยากำพร้า 5. โรคที่ต้องบริหารแบบเฉพาะโรค 5.1 Thalassemia 5.2 Tuberculosis 5.3 การดูแลแบบประคับประคอง

16 ปรับรายการบริการและจำนวนเงิน โดย
ประเด็นหลักในการปรับปรุงหลักเกณฑ์การดำเนินงาน และการบริหารจัดการงบกองทุนปี 2558 (1) การบริหารงบกองทุนปี 2558 มีกรอบการบริหารส่วนใหญ่เหมือนปี โดยปรับปรุงในประเด็นหลัก ดังนี้ ปรับรายการบริการและจำนวนเงิน โดย 1.1 กรณีผู้ป่วยมะเร็ง ย้ายค่ายาเคมีบำบัดไปรวมไว้ที่รายการย่อยบริการกรณีเฉพาะ โดย บริหารการจ่ายรวมกับค่า chemo/radio สำหรับบริการผู้ป่วยนอก เพื่อคุณภาพการบริการ ตามเงื่อนไขบริการ 3 กองทุน และการจ่ายค่าบริการผู้ป่วยในทั่วไปกรณีผู้ป่วยมะเร็งที่มี การรักษาด้วยเคมีบำบัด และให้มีการปรับลดน้ำหนักสัมพัทธ์ในส่วนค่ายาเคมีบำบัด (ย้าย เงินบริการผู้ป่วยในทั่วไปไปรายการบริหารกรณีเฉพาะจำนวน บาทต่อหัว) 1.2 กรณีการวินิจฉัยราคาแพงและหัตถการโรคหัวใจและหลอดเลือดของบริการแบบ Ambulatory care ย้ายจากรายการย่อยบริการกรณีเฉพาะไปรวมกับบริการ IP-ทั่วไป และให้ระดับเขตพิจารณากำหนดตามความเหมาะสมกับระบบบริการในแต่ละเขตพื้นที่ (เพิ่มเงินบริการผู้ป่วยในทั่วไปมาจากรายการบริการกรณีเฉพาะ 1.65 บาทต่อหัว) หมายเหตุ : มีการจ่ายเพิ่มสำหรับค่ายา Chemo กรณี OP อยู่แล้วในรายการบริการกรณีเฉพาะ ตั้งแต่ปี 2546 ผู้ป่วยใน จะได้รับสิทธิปรโยชน์เช่นเดิม หน่วยบริการจะส่งเรียกเก็บค่ารักษา IP เช่นเดิม แต่จะแยกเรียกเก็บค่ายา Chemo ทั้งบริการ OP/IP เช่นเดียวกับวิธีการของกรมบัญชีกลาง

17 ค่าบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว
ประเด็นหลักในการปรับปรุงหลักเกณฑ์การดำเนินงาน และการบริหารจัดการงบกองทุนปี 2558 (2) กรณีการไม่มี สสจ.ทำหน้าที่ สปสช.สาขาจังหวัด เพิ่มการบริหารวงเงินแบบมีเพดานระดับเขตตามเขตพื้นที่ความรับผิดชอบ ของ สปสช.เขต (Global budget ระดับเขต) ภายใต้กลไกคณะอนุกรรมการ หลักประกันสุขภาพระดับเขต (อปสข.) และนโยบายส่วนกลาง 3.1 รายการที่บริหารแบบ Global budget ระดับเขต ค่าบริการเหมาจ่ายรายหัว ได้แก่ บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป บริการผู้ป่วยใน บริการสร้าง เสริมสุขภาพและป้องกันโรค บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ และ บริการแพทย์แผนไทย ค่าบริการควบคุม ป้องกันและรักษาโรคเรื้อรังสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ทั้งหมด ( ล้านบาท) ค่าบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว ปี 2557 [ขาลง] ปี 2558 [ขาลง] ปี 2557 [GB เขต] ปี 2558 [GB เขต] 1. บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป 1,056.96 37.00 2. บริการผู้ป่วยในทั่วไป 1,027.94 998.26 3. บริการกรณีเฉพาะ 271.33 301.01 - 4. บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 383.61 28.00 347.45 5. บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ 14.95 12.51 6. บริการแพทย์แผนไทย 8.19 6.79 7. งบค่าเสื่อม 128.69 8. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นตามมาตรา 41 3.32 9. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นผู้ให้บริการ 0.10 รวม 2,895.09 1,099.73 2,423.37 % ที่บริหาร GB ระดับเขต 38.0% 83.7%

18 ประเด็นหลักในการปรับปรุงหลักเกณฑ์การดำเนินงาน และการบริหารจัดการงบกองทุนปี 2558 (3)
3.2 การคำนวณ Global budget ระดับเขต แต่ละเขตจะได้วงเงิน แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับ จำนวนประชากร ผลงานบริการ และ คุณภาพผลงานบริการ/มาตรฐานของหน่วยบริการ 3.3 ในแต่ละประเภทบริการ จะมีการกำหนดหลักเกณฑ์การจ่าย ค่าใช้จ่ายจาก Global budget ระดับเขต ให้เป็นไปตามกรอบ แนวทางและหลักเกณฑ์กลางการจ่ายค่าใช้จ่ายของแต่ละ ประเภทบริการ และสามารถเพิ่มเติมหลักเกณฑ์การจ่าย ค่าใช้จ่ายในระดับพื้นที่ได้โดยต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข.

19 ค่าบริการทางการแพทย์ที่เบิกจ่ายในลักษณะงบลงทุน (ค่า เสื่อมเดิม)
ประเด็นหลักในการปรับปรุงหลักเกณฑ์การดำเนินงาน และการบริหารจัดการงบกองทุนปี 2558 (4) ค่าบริการทางการแพทย์ที่เบิกจ่ายในลักษณะงบลงทุน (ค่า เสื่อมเดิม) ปี 2558 สงป. เปลี่ยนชื่อรายการค่าเสื่อมเป็น “ค่าบริการทางการแพทย์ ที่เบิกจ่ายในลักษณะงบลงทุน (ค่าบริการทางการแพทย์สำหรับผู้มีสิทธิ ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเพื่อสนับสนุนเป็นค่าเสื่อมราคา ของหน่วยบริการ)” ขอบเขตค่าบริการทางการแพทย์ที่เบิกจ่ายในลักษณะงบลงทุน เป็นไป ตามที่คณะกรรมการกำหนด ให้มีผังกำกับการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับมาตรการติดตามการใช้ งบลงทุนของรัฐบาล และติดตามผลให้ได้ตามกำหนด

20 เอกสารงบประมาณปีงบประมาณ 2557
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ข้อ 7.4 แผนงาน : พัฒนาระบบประกันสุขภาพ ผลผลิตที่1 : ประชาชนได้รับบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน ปีที่ผ่านมาได้รับเงินเดือนจากสำนักบริหารกลาง กลุ่มบริหารงานบุุคคล ในรูปแบบ ไฟล์ pdf จะได้รับในช่วงเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม ปี57 ได้รับจากกลุ่มประกันสุขภาพ หนังสือลงวันที่ 9 ธันวาคม 56 ครับ

21 ประเด็นหลักในการปรับปรุงหลักเกณฑ์การดำเนินงาน และการบริหารจัดการงบกองทุนปี 2558 (4)
ปรับการปรับลดค่าแรงหน่วยบริการภาครัฐสังกัด สป.สธ. เป็น “ให้คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง เป็นผู้กำหนดแนวทางการ ปรับลดค่าแรงในระบบของหน่วยบริการสังกัด สป.สธ. ให้ได้จำนวนเงิน ค่าแรงในระบบรวมตามการคำนวณของสำนักงบประมาณ โดยให้มี คณะทำงานชุดหนึ่งประกอบด้วย ผู้แทน สป.สธ. หน่วยบริการ สปสช. และ นักวิชาการหรือผู้ทรงคุณวุฒิ มีหน้าที่จัดทำข้อเสนอแนวทางการปรับลด ค่าแรงในระบบของหน่วยบริการสังกัด สป.สธ. และเสนอให้คณะอนุกรรมการ พัฒนาระบบการเงินการคลังฯ พิจารณาภายในไตรมาสแรกของปีงบประมาณ ทั้งนี้หากมีความจำเป็นต้องแก้ไขปัญหาสภาพคล่องของหน่วยบริการ อาจให้ ปรับลดค่าแรงเพิ่มอีกไม่เกินร้อยละ 3 ของจำนวนเงินเดือนของ CUP” การปรับลดค่าแรงหน่วยบริการภาครัฐ คือ การปรับลดการจ่ายค่าบริการสาธารณสุขตามระบบ UC ให้หน่วยบริการภาครัฐในระบบ ด้วยตัวเลขค่าแรงของหน่วยบริการ เนื่องจากหน่วยบริการภาครัฐจะได้รับโดยตรงตามระบบงบประมาณของประเทศแล้ว

22 ประเด็นหลักในการปรับปรุงหลักเกณฑ์การดำเนินงาน และการบริหารจัดการงบกองทุนปี 2558 (4)
เนื่องจากได้รับงบเหมาจ่ายรายหัวเท่าปีที่ผ่านมา จึงเพิ่มหลักการกรณี จ่ายตามเงื่อนไขแล้ว กรณีจำนวนบริการมากกว่าเป้าหมายที่ได้รับงบประมาณทั้งที่มีการเพิ่ม ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการของกองทุนและหน่วยบริการแล้ว แต่ไม่ สามารถควบคุมต้นทุนได้ ให้ใช้เงินคงเหลือตามระบบบัญชีเงินกองทุน รายการ “รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม”มาจ่ายได้ และ/หรือ ให้ขอ งบประมาณเพิ่มเติม กรณีหากมีเงินเหลือเมื่อสิ้นปีงบประมาณ ให้จัดสรรเงินที่เหลือนั้นให้หน่วย บริการตามจำนวนประชากรหรือผลงานการให้บริการ

23 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt การบริหารจัดการ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2558

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google