งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สุทธิรัตน์ รัตนโชติ และสำนักกฎหมาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สุทธิรัตน์ รัตนโชติ และสำนักกฎหมาย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สุทธิรัตน์ รัตนโชติ และสำนักกฎหมาย
แนวทางแก้ไขปัญหา ให้กับสมาชิก กบข. โดยสมัครใจ สุทธิรัตน์ รัตนโชติ และสำนักกฎหมาย

2 ประเด็นนำเสนอ 1 2 3

3 ความเป็นมา ประเด็นปัญหา
และข้อเรียกร้อง แต่เดิมมา เรามีระบบบำเหน็จบำนาญเพียงระบบเดียว คือบำเหน็จบำนาญตาม พรบ.บำเหน็จบำนาญ ซึ่งก็ไม่เคยมีปัญหาอะไร (เพราะมีระบบเดียว) และรัฐก็ตั้งงบประมาณเพื่อรองรับการจ่ายบำเหน็จบำนาญดังกล่าวเป็นประจำทุกปี เมื่องบประมาณตั้งไว้ไม่พอ เราก็ใช้เงินคงคลังไปสมทบจ่าย เป็นมาอย่างนี้โดยตลอด ซึ่งการทำเช่นนี้ทำให้การบริหารการคลังขาดประสิทธิภาพ และไม่มั่นคงยั่งยืน

4 อย่างไรก็ดี บำเหน็จบำนาญเป็นภาระงบประมาณ
ที่ต้องจ่ายต่อเนื่องไปจนผู้รับบำนาญเสียชีวิต และมีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี จึงทำให้เกิดปัญหาเพิ่มขึ้นและส่งผลต่อเนื่องในระยะยาว รัฐจึงหาแนวทางแก้ไข โดยสร้างระบบ กบข. ขึ้นมา ในปี 39 เพื่อให้มีการกันเงินจำนวนหนึ่งส่งเข้ากองทุนเพื่อสมทบจ่ายบำเหน็จบำนาญ ในขณะเดียวกันก็หาทางลดภาระบำนาญด้วยการปรับสูตรบำนาญให้ได้รับเงินลดลง คือ ปรับเงินเดือนเดือนสุดท้ายเป็นเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย และ cap เงินบำนาญไว้ที่ 70% ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย การทำเช่นนี้ จึงจะทำให้รัฐสามารถบริหารจัดการภาระงบประมาณบำเหน็จบำนาญได้ในระยะยาวอย่างยั่งยืน

5 ในส่วนของผู้รับบำนาญที่จะได้รับเงินบำนาญลดลง รัฐจะดูแลโดยจะชดเชยให้เป็นเงินก้อน ซึ่งจะทำให้ผู้รับบำนาญได้รับประโยชน์เพิ่มขึ้น เพราะจะได้รับทั้งเงินรายเดือนจากรัฐ และเงินก้อนจาก กบข. เมื่อออกจากราชการ นอกจากนี้ รัฐยังสร้างความมั่นคงให้กับข้าราชการเพิ่มขึ้น ด้วยการส่งเสริมให้สะสมเงินใน กบข. และรัฐจะสบทบให้ในสัดส่วนเดียวกัน ปัญหาในเรื่องนี้เกิดขึ้นเพราะ เงินที่รัฐชดเชยให้เป็นเงินก้อนไม่เป็นไปตามที่คาดหวังไว้อย่างมีนัยสำคัญ และไม่พอดีกับบำนาญที่ลดลง เมื่อเปรียบเทียบกับผู้รับบำนาญที่ไม่เข้า กบข. ทั้งนี้เนื่องจากข้อสมมุติฐานที่ใช้ในการคำนวณเงินก้อน 8% 9% ลดต่ำลงไปจากที่เคยคาดการณ์ไว้ในปี 39 โดยเฉพาะผลตอบแทนจาก กบข.ๆ ทำได้เฉลี่ยเพียง 7.05% เท่านั้น ปัญหาดังกล่าวจึงนำมาสู่ข้อเรียกร้องของสมาชิกที่สมัครใจเข้า กบข. ผ่านองค์กรต่างๆมากมาย

6 ประเด็นข้อเรียกร้อง ยึดโยงกับเงินที่พวกเขาจะได้รับ คือ เงินรายเดือนหรือเงินบำนาญ และเงินก้อนที่ได้รับจาก กบข. โดยมีข้อเรียกร้องสรุปได้ดังนี้ 1.ในส่วนของเงินรายเดือน ขอแก้ไขสูตรบำนาญ กบข. ให้ได้รับบำนาญเพิ่มขึ้น โดยเสนอสูตรมาต่างๆนาๆ ซึ่งทั้งหมดมุ่งไปที่การปรับเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย เป็น หรือขอใช้เงินเดือนๆสุดท้าย และปรับ cap เงินบำนาญจาก 70% เป็น 80 % 85% 90% 95% และ 100% 2.ขอนำเวลาทวีคูณไปรวมคำนวณกับสูตรบำนาญ กบข.ด้วย 3.ในส่วนของเงินก้อน เมื่อไม่ได้รับตามจำนวนที่คาดหวังไว้ เนื่องจากข้อเท็จจริงไม่เป็นไปตามข้อสมมุติฐาน จึงขอเพิ่ม 4.ไม่พอใจการบริหารงานของ กบข. โดยเฉพาะอย่างยิ่งปี 51 ที่มีผลตอบแทนติดลบ จึงขอให้ยุบ กบข. 5.ขอลาออกจาก กบข.

7 แนวทางแก้ไขปัญหาให้กับสมาชิก กบข.
ที่เคยศึกษาหรือได้รับมอบหมายให้ศึกษาและนำเสนอให้ ฝ่ายนโยบายพิจาณาแล้ว

8 เงินปรับ เพิ่มบำนาญ เงินชดเชยผลประโยชน์ตอบแทน
ประเด็นปัญหามาจากสาเหตุใด แนวทางแก้ไขปัญหา B 1 A 2 กบข.เป็นเหตุ (ผลประกอบการ) สูตรบำนาญ กบข. เป็นเหตุ แนวทางแก้ไข 3 1 2 3 4 5 6 7 แปลงเหตุ เป็นประเภทเงิน ทั้ง 2 เหตุ เพิ่มเงินก้อน 2%ให้อีก50% ชดเชยอายุราชการ >38 ปี ชดเชยเฉพาะปีที่ กบข.ให้ ดพ ต่ำ ชดเชยส่วนต่าง4-9% กลับไปเลือกใหม่ ไม่ต้องทำ อะไร แก้ไขสูตรบำนาญ เงินก้อน (2%+ดผ) 1 กรณี กบข.เป็นเหตุ 2 กรณีสูตรบำนาญ กบข.เป็นเหตุ เงินรายเดือน (บำนาญ) การพิจารณา 2 5 ผลที่ คาดว่า จะได้รับ ข้อเรียกร้องของผู้ที่คิดว่าตนได้รับผลกระทบ 1 6 7 C 1 ได้รับเงินบำนาญน้อย เพราะ สูตร บำนาญ กบข. ไม่เป็นธรรม เงินปรับ เพิ่มบำนาญ เงินชดเชยผลประโยชน์ตอบแทน เงินรายเดือน (บำนาญ) เงินก้อน (2%+ดผ) 2 ได้รับเงินก้อนน้อยเพราะ กบข. ทำผลตอบแทนให้ต่ำ ผลที่ คาดว่า จะได้รับเมื่อเปรียบเทียบกับข้อเรียกร้อง 3 เสียเปรียบ เพราะมีอายุราชการ ทวีคูณ/มาก

9 ทำไมต้องคิดให้ยุ่งยาก ก็ควรให้โอกาสเขาคิดใหม่ ตัดสินใจใหม่”
“เมื่อเขาคิดว่า เขาเข้า กบข.เพราะเขาเข้าใจผิด หลงผิด และมีข้อมูลไม่ครบถ้วนในการตัดสินใจ ก็ควรให้โอกาสเขาคิดใหม่ ตัดสินใจใหม่” Undo ให้กลับไปเลือกใหม่

10 สาระสำคัญของเรื่องนี้

11 แนวทางแก้ไขปัญหาให้กับ สมาชิก กบข.โดยสมัครใจ Undo
ภาระบำนาญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น กรณี Base และกรณี Undo แนวทางการดูแลภาระบำเหน็จ บำนาญในอนาคตทั้งกรณี Base และกรณี Undo

12 Undo ให้กลับไปเลือกใหม่ ภายใน 30 มิถุนายน 2558 ร่าง พรบ. กบข. Undo

13 ผู้มีสิทธิ Undo ข้าราชการ ผู้รับบำนาญ สมาชิก กบข. 1,187,668 คน 977,709
สมัครใจ 767,867 คน ข้าราชการ สมาชิก กบข. 1,187,668 คน ตามกฎหมาย 419,801 คน 977,709 คน สมัครใจ 209,842 คน ผู้รับบำนาญ สมาชิก กบข. 211,472 คน ตามกฎหมาย 1,630 คน

14 Undo สูตรบำนาญ 50 50 เงินเดือน ๆ สุดท้าย X อายุราชการ
สูตรบำนาญดั้งเดิมตาม พรบ.บำเหน็จบำนาญ 2494 เงินเดือน ๆ สุดท้าย X อายุราชการ 50 ไม่เกิน 100% เงินเดือน เมื่อข้าราชการออกจากราชการจะได้รับ บำนาญสูตรดั้งเดิม รายเดือน เสียชีวิตเท่านั้น สูตรบำนาญสมาชิก กบข. เงินเดือน เฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย X อายุราชการ 50 ไม่เกิน 70% เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย ส่งผลให้บำนาญสูตร กบข. < บำนาญสูตรดั้งเดิม รัฐชดเชยให้ 1. ให้เงินประเดิม 2% + ดอกผล 2. ให้เงินชดเชย 2% + ดอกผล + รัฐจูงใจให้ออม 3. เงินสะสม 3% (ปัจจุบัน 15 %) + ดอกผล 4. ให้เงินสมทบ 3% + ดอกผล เมื่อข้าราชการที่เป็นสมาชิก กบข.ออกจากราชการจะได้รับ 1. บำนาญสูตร กบข.รายเดือน เสียชีวิต และ 2. เงินก้อน เงินประเดิม + ดอกผล เงินชดเชย ดอกผล เงินสะสม ดอกผล เงินสมทบ ดอกผล

15 ข้าราชการ (ที่เป็นสมาชิก กบข. โดยสมัครใจ)
1 ให้ใช้สิทธิเลือก ตั้งแต่วันถัดจากวันที่กฎหมาย มีผลใช้บังคับ ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2558 2 ได้รับเงินสะสม และดอกผล คืนจาก กบข. ตั้งแต่วันที่หมดสมาชิกภาพ กบข. (1 ตุลาคม 2558) 3 ไม่มีสิทธิได้รับเงินประเดิม เงินชดเชย เงินสบทบ และดอกผลของเงินดังกล่าว แต่จะนำไปใส่ใน บัญชีเงินสำรอง เพื่อใช้ในการบริหารจัดการ ภาระบำนาญต่อไป

16 4 สมาชิกภาพสิ้นสุดลงนับตั้งแต่วันถัดจาก
วันที่ 30 กันยายน 2558 คือวันที่ 1 ตุลาคม 2558 5 เมื่อออกจากราชการไม่ว่ากรณีใด และมีสิทธิรับ บำนาญ จะได้รับบำนาญสูตรเดิมจนถึงวันที่เสียชีวิต

17 ผู้รับบำนาญ (ยังมีชีวิตอยู่ และเป็นสมาชิก กบข. โดยสมัครใจ)
1 ให้ใช้สิทธิเลือก ตั้งแต่วันถัดจากวันที่กฎหมาย มีผลใช้บังคับ ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2558 2 ไม่ต้องคืนเงินสะสมและผลประโยชน์ที่ได้รับไปแล้ว 3 ต้องคืนเงินประเดิม เงินชดเชย เงินสบทบ และ ดอกผลของเงินดังกล่าวให้รัฐ โดยวิธีหักกลบลบกัน 4 ได้รับบำนาญสูตรเดิมย้อนหลังตั้งแต่วันที่ออกจาก ราชการถึงวันที่ 30 กันยายน 2558 โดยวิธีหักกลบลบกัน

18 5.2 หากมีส่วนต่างที่รัฐต้องจ่ายคืน รัฐจะจ่ายคืนให้
5 เมื่อหักกลบลบกันแล้ว 5.1 หากมีส่วนต่างต้องชำระคืนให้รัฐ ให้ชำระคืน ภายใน 30 มิถุนายน 2558 5.2 หากมีส่วนต่างที่รัฐต้องจ่ายคืน รัฐจะจ่ายคืนให้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงการคลัง กำหนด ให้ผู้รับบำนาญตาม 5.1 คืนเงินให้รัฐผ่าน ส่วนราชการผู้เบิก เพื่อนำส่งต่อให้กรมบัญชีกลาง เงินที่ได้รับคืนไม่ต้อนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน และให้รัฐโดยกรมบัญชีกลางสามารถนำเงินที่ได้รับคืน จากผู้รับบำนาญตาม 5.1 ไปจ่ายคืนให้ผู้รับบำนาญ ตาม 5.2 ได้ ส่วนที่เหลือให้นำส่งเข้าบัญชีเงินสำรอง

19 เงินบำนาญ เท่านั้น Note คิดเฉพาะ ไม่นำ ชคบ.และเงินบำเหน็จดำรงชีพ
ไม่นำ ชคบ.และเงินบำเหน็จดำรงชีพ ครั้งที่ 1 และ 2 ที่ได้รับไปแล้ว มาร่วมคำนวณในขั้นตอน การขอ Undo แต่จะนำมาคิดคำนวณให้ในภายหลัง

20 6 หากแสดงความประสงค์ไว้แล้ว และถึงแก่ความตาย
ก่อนวันที่ 1 ตุลาคม ให้ถือว่าการแสดง ความประสงค์นั้น ไม่มีผลใช้บังคับ และหากได้คืน เงินตาม 5.1 ให้รัฐแล้ว รัฐจะคืนเงินดังกล่าวให้กับ ทายาทต่อไป 7 จะได้รับบำนาญสูตรเดิมตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2558 เป็นต้นไปจนถึงวันที่เสียชีวิต

21 การแสดงความประสงค์ การคืนเงิน/ได้รับเงินคืน โดยการหักกลบลบกัน ระหว่างผู้รับบำนาญกรณี Undo กับ รัฐ การส่งเงินประเดิม เงินชดเชย เงินสบทบ และดอกผลของเงินดังกล่าว ของผู้รับบำนาญและข้าราชการ กรณี Undo เข้าบัญชี เงินสำรอง การคืนเงินสะสม และดอกผลของเงินดังกล่าว ให้ข้าราชการ กรณี Undo จะกำหนดเป็นหลักเกณฑ์และวิธีการของ กระทรวงการคลัง ให้ผู้มีสิทธิและหน่วยงาน เจ้าสังกัดของผู้มีสิทธิ นำไปปฏิบัติต่อไป

22 เงินก้อนที่ได้รับจาก กบข.หรือกรมบัญชีกลาง แล้วแต่กรณี
ได้รับการยกเว้นภาษี ตาม มติ คณะรัฐมนตรี

23 Redo ข้าราชการที่เคยมีสิทธิเลือก แต่ไม่เลือกเข้า กบข.ในครั้งแรก
Policy ข้าราชการที่เคยมีสิทธิเลือก แต่ไม่เลือกเข้า กบข.ในครั้งแรก จะให้โอกาสเลือกอีกครั้ง (ประมาณ 5-6 แสนคน) กฎหมายให้อำนาจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังประกาศได้

24 Undo Redo ครั้งสุดท้าย ?

25 ต้องใช้งบประมาณเพิ่มขึ้น.....

26 ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2558 เป็นต้นไป
ประมาณการ ภาระรายจ่ายบำนาญ กรณี Base กรณี Undo 50%, 75%, 100% ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2558 เป็นต้นไป

27

28

29

30 เลือก Undo 75% อายุราชการ >35 ปี อายุตัวเมื่อเข้า กบข. >40 ปี รับบำนาญไปแล้ว>10 ปี

31 ปัจจุบัน (2556) มีรายจ่ายบำเหน็จบำนาญ ประมาณ 1.2 แสนล้านบาท
ประมาณ 1.2 แสนล้านบาท และจะเพิ่มขึ้นเป็น 1.5 แสนล้านบาท ในปี 2558 และจะทยอยเพิ่มขึ้นอีกอย่างต่อเนื่อง เฉลี่ยปีละประมาณ 8-10% ในอีก 22 ปีข้างหน้า (2578) คาดว่าจะมีราจ่ายบำเหน็จบำนาญสูงสุด ประมาณ 7.66 แสนล้านบาทโดยที่ ยังไม่ต้องทำอะไรเลย (Base case) และถ้าทำ Undo (75%) จะมีรายจ่าย บำเหน็จบำนาญสูงสุดเพิ่มขึ้นอีกเป็น ประมาณ 8.13 แสนล้านบาท

32

33 บำนาญเพิ่มขึ้นจากกรณี Base
Undo 75% ทำให้มีภาระ บำนาญเพิ่มขึ้นจากกรณี Base ตั้งแต่ปี (44ปี) ประมาณ 1,082,215 ลบ. หรือเฉลี่ย 24,596 ลบ./ปี

34 ประมาณ 1.082 ลลบ. หรือเฉลี่ย 24,596 ลบ./ปี
50 43 46 40 33 43 42 28 41 24 20 38 17 37 17 36 14 35 13 32 11 29 9 8 27 7 ประมาณ ลลบ. หรือเฉลี่ย 24,596 ลบ./ปี 25 6 21 4 3 18 2 16 13

35 สรุปว่าการทำ Undo ทำให้รัฐใช้งบประมาณเพิ่มขึ้น
จากกรณี Base ประมาณ ลลบ. ในระยะเวลา 44 ปี (ปี ปี 2601)หรือเฉลี่ยปีละ 24,596 ลบ. แต่รัฐสมารถประหยัดงบประมาณจากการไม่ต้อง ส่งเงินสบทบ และเงินชดเชยให้กับข้าราชการที่ Undo ประมาณ 132,015 ลบ. ในช่วงระยะเวลาเดียวกัน รวมทั้ง ยังได้เงินประเดิม เงินชดเย เงินสมทบ และ ดอกผลของเงินดังกล่าว คืนในปีแรก (2558) จากข้าราชการ และผู้รับบำนาญ ที่ Undo อีก ประมาณ 219,577 ลบ.โดยใส่ไว้ในบัญชีเงินสำรอง

36

37

38 ตัวเลขที่ทำละเอียดขึ้นและ
ดีขึ้นดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า หรือตอกย้ำข้อสรุปว่า..... การทำ Undo ไม่ได้ใช้งบประมาณมากอย่างที่คิด

39 แนวทางการดูแลภาระบำเหน็จบำนาญในอนาคต
จากที่กล่าวมาทั้งหมดข้างต้น แสดงให้เห็นว่า แม้ไม่ทำ Undo รัฐ ก็มีภาระงบประมาณบำเหน็จบำนาญเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมากอยู่แล้ว และเมื่อทำ Undo ก็จะใช้งบประมาณเพิ่มขึ้นอีก ฉะนั้นจึงจำเป็นต้องดูแล แนวทางการดูแลภาระบำเหน็จบำนาญในอนาคต

40 บัญชีเงินสำรอง มาตรา 72 Sinking Fund เงินสำรองที่มีอยู่เดิม
Policy ปีแรก และปีต่อไป วิกฤติเศรษฐกิจ จัดสรรงปม.ชดเชย รักษาระดับ 3 เท่าของ งปม.บำเหน็จบำนาญ ส่วนเกินส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ส่งเงินกลับคืนเป็น รายได้แผ่นดิน เพื่อจ่ายบำเหน็จบำนาญ เติมเงินเกินกว่า 20% ดอกผล เติมเงินปีละ 20% ขั้นต่ำตามปกติ เงินรายบุคคลรับคืน ข้าราชการและผู้รับบำนาญ Undo 75% ประมาณ 2.1 แสน ลบ. ปีแรก 2-3 ปีแรก 3 เท่า งปม. บำเหน็จบำนาญ เงินสำรองที่มีอยู่เดิม ประมาณ 2 แสน ลบ.

41 หมายความว่า ใน 2-3 ปี ข้างหน้า เราจะเติมเงินใส่ในบัญชีเงินสำรองลดลง หรืออาจไม่ต้องเติมเลย ทำให้สามารถประหยัดงบประมาณในส่วนนี้ได้ทั้งหมด ในทางตรงกันข้าม เราจะกลับมีเงินส่วนเกิน 3 เท่าของบัญชีเงินสำรองส่งเข้าคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ซึ่งรายได้ส่วนนี้จะช่วยชดเชยการนำเงินคงคลังมาจ่ายบำเหน็จบำนาญ กรณีที่ตั้งงบประมาณไม่เพียงพอได้บางส่วน (เราจะยังคงมีสภาวะตั้งงบประมาณไม่เพียงพอรายจ่ายบำเหน็จบำนาญอยู่ต่อไป)

42 สรุปแนวทางแก้ไขปัญหา
Undo ถูกจุด ถูกใจ ที่สุด ไม่ทำให้เกิดภาระงบประมาณมากอย่างที่คิด และมีแนวทางการดูแลแล้ว โดยใช้บัญชีเงินสำรองเป็นเครื่องมือ

43 Win ได้รับการเยียวยาตามข้อเรียกร้อง และมีหลักประกันอันมั่นคงที่จะได้รับบำนาญตั้งแต่ออกจากราชการจนเสียชีวิต ผู้มีสิทธิ กบข. ยังคงมีเงินจาก รัฐบาลและสมาชิกให้ บริหารจัดการต่อไป รัฐบาล ได้แก้ไขปัญหาให้กับสมาชิก กบข. ที่สมัครใจและมีเครื่องมือดูแลภาระบำนาญอย่างยั่งยืนอันทำให้สามารถบริหารงบประมาณแผ่นดินได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

44 เมื่อเข้าใจหลักการ ขอไปต่อในรายละเอียด

45 ขั้นตอนปฏิบัติ ข้าราชการ Undo

46 ข้าราชการ Undo กบข. ส่วนราชการเจ้าสังกัด กรมบัญชีกลาง 1 2 6 5 4 3 7
ส่วนกลาง-จังหวัด กรมบัญชีกลาง สนง.คลังจังหวัด กรมบัญชีกลาง กบข. สมัคร Undo 1 2 6 เอกสารประกอบ ตรวจสอบเอกสารบันทึกข้อมูล ใบสมัครUndo e Pension กบข. ชื่อเลขที่บัญชีเงินฝากธนาคาร e Pension e Pension 5 Statement รายตัว 30 กย 57 -สอบยันข้อมูล ผู้มีสิทธิรายตัว -ส่งข้อมูลและรายงาน ผู้ที่ขอUndoให้ กบข. ใบรับรองการสมัครUndo ใบรับรองการสมัครUndo 1 ประเดิม+ดผ 2 ชดเชย+ดผ 3 สบทบ +ดผ 4 สะสม +ดผ 4 3 Undoสมบูรณ์ +รอรับใบยืนยันจาก บก.และรอรับเงินสะสมและดอกผลจาก กบข. - ตรวจสอบเอกสาร - อนุมัติในระบบ -ออกใบยืนยัน -ส่งข้อมูลและ รายงานให้ บก. รวบรวมเอกสารที่ดำเนินการแล้ว ส่งกรมบัญชีกลาง /สนง.จังหวัด โอนเงิน 4 เข้า บัญชี ผู้มีสิทฺธิ รายงานกบบ. ตรวจสอบและส่งต่อให้ผู้สมัคร Undo ต่อไป ใบแจ้ง การโอนเงิน ใบยืนยัน ใบยืนยัน Undoสมบูรณ์ +รอรับเงินสะสมและดอกผลจาก กบข. โอนเงิน 1-3 เข้า บัญชี เงินสำรอง 7 จบ สอบยันข้อมูล ผู้มีสิทธิรายตัวกับรายงานของ กบข. ใบแจ้ง การโอนเงิน รายงาน บก. Undoสมบูรณ์ จบ จบ จบ

47 หลักเกณ์สำหรับข้าราชการ Undo
กรมบัญชีกลาง สนง.คลังจังหวัด หลักเกณ์สำหรับ ส่วนราชการ หลักเกณ์สำหรับ กบข.

48 ขั้นตอนปฏิบัติ ผู้รับบำนาญ Undo

49

50 ผู้รับบำนาญUndo กบข. ส่วนราชการเจ้าสังกัด กรมบัญชีกลาง 1 2 3 4
ส่วนกลาง-จังหวัด กรมบัญชีกลาง สนง.คลังจังหวัด กรมบัญชีกลาง กบข. สมัคร Undo 1 2 เอกสารประกอบ ตรวจสอบเอกสารบันทึกข้อมูล ใบสมัครUndo ชื่อเลขที่บัญชีเงินฝากธนาคาร e Pension e Pension e Pension คำนวณจำนวนเงินหักกลบลบกันตาม ม.5 3 ได้เงินคืน จากรัฐ คืน เงินให้รัฐ 4 ใบแจ้งยอดเงินได้รับคืน ใบแจ้งยอดเงินได้รับคืน ใบรับรองการสมัครUndo ใบรับรองการสมัครUndo Undoสมบูรณ์ +รอรับเงิน ใบแจ้งยอดเงิน ที่ต้องคืน ใบแจ้งยอดเงิน ที่ต้องคืน ใบรับรองการสมัครUndo ใบรับรองการสมัครUndo Undoยังไม่สมบูรณ์ +ต้องนำเงินไปคืน

51 ผู้รับบำนาญUndo กบข. ส่วนราชการเจ้าสังกัด กรมบัญชีกลาง 5 6 7
ส่วนกลาง-จังหวัด กรมบัญชีกลาง สนง.คลังจังหวัด กรมบัญชีกลาง กบข. นำเงินมาชำระคืนรัฐ 5 รับเงิน ออกใบเสร็จรับเงิน บันทึกข้อมูล ใบเสร็จรับเงิน ใบเสร็จรับเงิน Undoสมบูรณ์ +รอการยืนยันจาก บก. 6 นำเงินที่ได้รับคืนฝากเข้าบัญชีเงินฝากคลังของกรมบัญชีกลาง/สนง.จังหวัด ขารับเท่านั้น บัญชีเงินฝากคลัง -กรมบัญชีกลาง -สนง.จังหวัด ขาจ่ายเท่านั้น บัญชีเงินฝากคลัง -กรมบัญชีกลาง ส่วนกลาง GFMIS GFMIS GFMIS 7 รวบรวมเอกสารที่ดำเนินการแล้ว ทั้ง 2 กรณีส่งกรมบัญชีกลาง /สนง.จังหวัด รายงานนำเงิน ฝากคลัง รายงานนำเงิน ฝากคลัง ใบเสร็จรับเงิน ใบเสร็จรับเงิน ใบรับรองการสมัครUndo ใบรับรองการสมัครUndo

52 ผู้รับบำนาญUndo กบข. 11 10 ส่วนราชการเจ้าสังกัด กรมบัญชีกลาง 8 9
ส่วนกลาง-จังหวัด กรมบัญชีกลาง สนง.คลังจังหวัด กรมบัญชีกลาง กบข. 8 - ตรวจสอบเอกสาร - สอบยันและกระทบ ยอดเงินฝากคลัง - อนุมัติในระบบ - ออกใบรับรอง/ยืนยัน กรณีคืนเงิน ให้รัฐ ออกใบยืนยัน ให้ผู้สมัคร ใบยืนยัน ใบยืนยัน กรณีได้เงินคืนจากรัฐ ออกใบรับรองให้ผู้สมัคร Undoสมบูรณ์ กรณีคืนเงินให้รัฐ ใบรับรอง 9 ใบยืนยัน ตรวจสอบและส่งต่อให้ผู้สมัคร Undo ต่อไป ใบรับรอง 11 ใบรับรอง 10 Undoสมบูรณ์ กรณีได้เงินคืนจากรัฐ +รอรับเงินจากรัฐ ส่งข้อมูลและรายงานทั้ง 2 กรณี ให้กรมบัญชีกลางเพื่อ ตรวจสอบ และสั่งจ่ายเงินให้ผู้ที่มีสิทธิได้รับเงินต่อไป -ตรวจสอบข้อมูลทั้ง 2 กรณี -ตรวจสอบรายการที่ ต้องจ่ายเงินคืนให้ ผู้มีสิทธิแต่ละราย -บันทึกข้อมูลในระบบ จบ

53 ผู้รับบำนาญUndo กบข. 12 14 13 ส่วนราชการเจ้าสังกัด กรมบัญชีกลาง
ส่วนกลาง-จังหวัด กรมบัญชีกลาง สนง.คลังจังหวัด กรมบัญชีกลาง กบข. 12 - ขอเบิกเงินจากบัญชี เงินฝากคลัง - โอนเงินเข้าบัญชี เงินฝากธนาคาร ของผู้มีสิทธิแต่ละ ราย ออกใบแจ้งยอด การโอนเงินเข้า บัญชีให้ผู้มีสิทธิ ใบแจ้ง ยอดเงิน ใบแจ้ง ยอดเงิน 14 Undoสมบูรณ์ กรณีได้เงินคืนจากรัฐ 13 -เมื่อจบโครงการให้ สรุปยอดคงเหลือ เงินในบัญชีเงินฝาก คลัง -ขอเบิกเงินคงเหลือ ดังกล่าวให้ กบข. -ปิดบัญชีเงินฝากคลัง -รับเงินและ นำเงินส่ง เข้าบัญชี เงินสำรอง -บริหาร ตาม กฎหมาย ต่อไป จบ จบ จบ

54 หลักเกณ์สำหรับผู้รับบำนาญ Undo
กรมบัญชีกลาง สนง.คลังจังหวัด หลักเกณ์สำหรับ ส่วนราชการ หลักเกณ์สำหรับ กบข.

55 ส่วนราชการ ส่วนราชการ สำนักเบิก กบข. เวลาสำหรับข้าราชการ Undo
วันสุดท้าย 30 มิถุนายน 2558 ใบสมัคร Undo ข้าราชการ ส่วนราชการ ใบรับรองการสมัคร Undo ข้าราชการ ส่วนราชการ ใบยืนยันการ Undo ข้าราชการ สำนักเบิก ใบแจ้งการโอนเงิน เข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร กบข.

56 กรณีได้เงินคืนจากรัฐ
เวลาสำหรับผู้รับบำนาญ Undo กรณีได้เงินคืนจากรัฐ ส่วนราชการ ใบสมัคร Undo ผู้รับบำนาญ วันสุดท้าย 30 มิถุนายน 2558 ใบแจ้งยอดเงิน ที่จะได้รับคืน ใบรับรองการสมัคร Undo ผู้รับบำนาญ ส่วนราชการ ใบรับรอง Undo ผู้รับบำนาญ สำนักเบิก ใบแจ้งการโอนเงิน เข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร กรมบัญชีกลาง

57 วันสุดท้าย 30 มิถุนายน 2558 วันสุดท้าย 30 มิถุนายน 2558 ณ ส่วนราชการ

58 ส่วนราชการ สำนักเบิก กรมบัญชีกลาง กบข. วันสุดท้าย 30 มิถุนายน 2558
กรมบัญชีกลาง กบข. ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ วันสุดท้าย 30 มิถุนายน 2558 วันสุดท้าย 30 มิถุนายน 2558


ดาวน์โหลด ppt สุทธิรัตน์ รัตนโชติ และสำนักกฎหมาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google