งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิจัย ในชั้นเรียน การวิจัย ในชั้นเรียน คือการแสวงหาคำตอบของ คำถามที่เกี่ยวข้องกับระบบ การเรียนการสอนและ สภาพแวดล้อม คือการแสวงหาคำตอบของ คำถามที่เกี่ยวข้องกับระบบ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิจัย ในชั้นเรียน การวิจัย ในชั้นเรียน คือการแสวงหาคำตอบของ คำถามที่เกี่ยวข้องกับระบบ การเรียนการสอนและ สภาพแวดล้อม คือการแสวงหาคำตอบของ คำถามที่เกี่ยวข้องกับระบบ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 การวิจัย ในชั้นเรียน การวิจัย ในชั้นเรียน

3 คือการแสวงหาคำตอบของ คำถามที่เกี่ยวข้องกับระบบ การเรียนการสอนและ สภาพแวดล้อม คือการแสวงหาคำตอบของ คำถามที่เกี่ยวข้องกับระบบ การเรียนการสอนและ สภาพแวดล้อม

4 ประเภทการวิจัยในชั้นเรียน ประเภทการวิจัยในชั้นเรียน วิจัยเชิงสำรวจ วิจัยเชิงสำรวจ วิจัยเชิงปฎิบัติการ วิจัยเชิงปฎิบัติการ

5 ระเบียบการวิจัยในชั้นเรียน ระเบียบการวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เรื่อง หลักการและเหตุผล หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ สมมุติฐาน สมมุติฐาน วิธีการวิจัยและเก็บข้อมูล วิธีการวิจัยและเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ประโยชน์ที่คาดว่าได้รับ ประโยชน์ที่คาดว่าได้รับ

6 ชื่อเรื่อง ชื่อเรื่อง มีขอบเขตเกี่ยวข้องกับระบบ มีขอบเขตเกี่ยวข้องกับระบบ การเรียนการสอน การเรียนการสอน ในองค์ประกอบต่อไปนี้ ในองค์ประกอบต่อไปนี้

7 ชื่อเรื่อง เกี่ยวข้องกับ ชื่อเรื่อง เกี่ยวข้องกับ ทรัพยากรและปัจจัย (Input) ทรัพยากรและปัจจัย (Input) กระบวนการเรียนการสอน กระบวนการเรียนการสอน ( Instructional Process ) ( Instructional Process ) ผลลัพธ์ ( Output ) ผลลัพธ์ ( Output ) การหาค่าสหสัมพันธ์ในระบบการ เรียนการสอน การหาค่าสหสัมพันธ์ในระบบการ เรียนการสอน นวัตกรรมระบบการเรียนการสอน นวัตกรรมระบบการเรียนการสอน

8 หลักการและเหตุผล หลักการและเหตุผล ตอบคำถามว่าทำไมต้องทำ วิจัยเรื่องนี้ ตอบคำถามว่าทำไมต้องทำ วิจัยเรื่องนี้

9 วัตถุประสงค์การวิจัย ระบุว่าจะทำอะไรบ้าง ? ระบุว่าจะทำอะไรบ้าง ?

10 สมมุติฐานการวิจัย สมมุติฐานการวิจัย คาดหวังว่าจะได้ผลอย่างไร? คาดหวังว่าจะได้ผลอย่างไร? มีความน่าเชื่อถือทางสถิติ มากน้อยเพียงใด ? มีความน่าเชื่อถือทางสถิติ มากน้อยเพียงใด ?

11 วิธีการวิจัย วิธีการวิจัย กลุ่มประชากรคือใคร ? กลุ่มประชากรคือใคร ? การได้มาของกลุ่มตัวอย่าง การได้มาของกลุ่มตัวอย่าง ความน่าเชื่อถือของเครื่องมือ และวิธีการเก็บข้อมูล ความน่าเชื่อถือของเครื่องมือ และวิธีการเก็บข้อมูล

12 การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล บอกวิธีการ ลำดับขั้นตอน การวิเคราะห์ข้อมูล บอกวิธีการ ลำดับขั้นตอน การวิเคราะห์ข้อมูล สูตรและวิธีการสถิติที่ใช้ใน แต่ละขั้นตอน ควรเป็นที่ เชื่อถือและอ้างอิงจากปฐม ภูมิระดับชาติและนานาชาติ สูตรและวิธีการสถิติที่ใช้ใน แต่ละขั้นตอน ควรเป็นที่ เชื่อถือและอ้างอิงจากปฐม ภูมิระดับชาติและนานาชาติ

13 สูตรทางสถิติการวิจัย ในชั้นเรียน รับรองสูตรอย่างเป็นทางการโดย ศาสตราจารย์เกียติคุณ ดร. นิพนธ์ ศุขปรีดี ผู้ที่ไม่เห็นด้วยสามารถแสดงเหตุผลโดยตรงที่ e-mail : DrSook@Siam.th.edu สูตรทางสถิติการวิจัย ในชั้นเรียน รับรองสูตรอย่างเป็นทางการโดย ศาสตราจารย์เกียติคุณ ดร. นิพนธ์ ศุขปรีดี ผู้ที่ไม่เห็นด้วยสามารถแสดงเหตุผลโดยตรงที่ e-mail : DrSook@Siam.th.edu ๑. สูตร การหาความก้าวหน้า ๑. สูตร การหาความก้าวหน้า Pd = Pp – Pe Pd = Pp – Pe Pd = คะแนนเฉลี่ยที่พัฒนา Pd = คะแนนเฉลี่ยที่พัฒนา Pp = คะแนนเฉลี่ยหลังเรียน Pp = คะแนนเฉลี่ยหลังเรียน Pe = คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน Pe = คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน

14 สูตรทางสถิติการวิจัย ในชั้นเรียน รับรองสูตรอย่างเป็นทางการโดย ศาสตราจารย์เกียติคุณ ดร. นิพนธ์ ศุขปรีดี ผู้ที่ไม่เห็นด้วยสามารถแสดงเหตุผลโดยตรงที่ e-mail : DrSook@Siam.th.edu สูตรทางสถิติการวิจัย ในชั้นเรียน รับรองสูตรอย่างเป็นทางการโดย ศาสตราจารย์เกียติคุณ ดร. นิพนธ์ ศุขปรีดี ผู้ที่ไม่เห็นด้วยสามารถแสดงเหตุผลโดยตรงที่ e-mail : DrSook@Siam.th.edu ๒. สูตร การหาประสิทธิภาพดีหรือดีมาก ๒. สูตร การหาประสิทธิภาพดีหรือดีมาก ๒.๑ ๘๐/๘๐ หรือ ๙๐/๙๐ ๒.๑ ๘๐/๘๐ หรือ ๙๐/๙๐ สูตร E = M๑๐๐/F/n๑๐๐/N สูตร E = M๑๐๐/F/n๑๐๐/N E = ประสิทธิภาพระบบการเรียนการสอน E = ประสิทธิภาพระบบการเรียนการสอน M = คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มผู้ทดสอบทั้งหมด M = คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มผู้ทดสอบทั้งหมด F = คะแนนเต็ม F = คะแนนเต็ม n = จำนวนผู้เรียนที่ได้คะแนน=>๘๐หรือ๙๐ n = จำนวนผู้เรียนที่ได้คะแนน=>๘๐หรือ๙๐ N = จำนวนผู้เรียนที่ทดสอบทั้งหมด N = จำนวนผู้เรียนที่ทดสอบทั้งหมด

15 สูตรทางสถิติการวิจัย ในชั้นเรียน รับรองสูตรอย่างเป็นทางการโดย ศาสตราจารย์เกียติคุณ ดร. นิพนธ์ ศุขปรีดี ผู้ที่ไม่เห็นด้วยสามารถแสดงเหตุผลโดยตรงที่ e-mail : DrSook@Siam.th.edu สูตรทางสถิติการวิจัย ในชั้นเรียน รับรองสูตรอย่างเป็นทางการโดย ศาสตราจารย์เกียติคุณ ดร. นิพนธ์ ศุขปรีดี ผู้ที่ไม่เห็นด้วยสามารถแสดงเหตุผลโดยตรงที่ e-mail : DrSook@Siam.th.edu ๒. สูตร การหาประสิทธิภาพ ๒. สูตร การหาประสิทธิภาพ ๒.๒ สูตร E = T๑๐๐/CN/P๑๐๐/F ๒.๒ สูตร E = T๑๐๐/CN/P๑๐๐/F E = ประสิทธิภาพระบบการเรียนการสอน E = ประสิทธิภาพระบบการเรียนการสอน T = คะแนนรวมการทดสอบเแต่ละครั้งหรือแต่ละ T = คะแนนรวมการทดสอบเแต่ละครั้งหรือแต่ละ แบบฝึกหัดในทุกบทเรียนย่อยรวม แบบฝึกหัดในทุกบทเรียนย่อยรวม ตลอดบทเรียนและรวมกันทุกคน ตลอดบทเรียนและรวมกันทุกคน T = ( tc1n1 + tc2n1 + tc3n1 +…….+ tCn1 ) T = ( tc1n1 + tc2n1 + tc3n1 +…….+ tCn1 ) + ( tc1n2 + tc2n2 + tc3n2 +---+ tCn2 ) + ……… tCN ) + ( tc1n2 + tc2n2 + tc3n2 +---+ tCn2 ) + ……… tCN ) N = จำนวนผู้ทดสอบทั้งหมด N = จำนวนผู้ทดสอบทั้งหมด C = คะแนนเต็มรวมทุกแบบฝึกหัดที่ C = คะแนนเต็มรวมทุกแบบฝึกหัดที่ ทดสอบในบทเรียน ทดสอบในบทเรียน P = คะแนนเฉลี่ยทดสอบหลังเรียนของกลุ่ม P = คะแนนเฉลี่ยทดสอบหลังเรียนของกลุ่ม F = คะแนนเต็มหลังเรียน F = คะแนนเต็มหลังเรียน

16 ข้อสังเกตุในการวิจัย ข้อสังเกตุในการวิจัย ทดสอบก่อนเรียนในการสอน ทดสอบก่อนเรียนในการสอน ปกติเมื่อจะนำผลมาใช้ในการ ปกติเมื่อจะนำผลมาใช้ในการ ออกแบบระบบการเรียนการ ออกแบบระบบการเรียนการ สอนที่คะแนนแตกต่างกัน สอนที่คะแนนแตกต่างกัน เท่านั้นและระมัดระวัง เท่านั้นและระมัดระวัง การเสริมแรงทางลบ การเสริมแรงทางลบ

17 ประโยชน์ของการวิจัย ประโยชน์ของการวิจัย บอกประโยชน์ของการวิจัยที่ คาดว่าจะได้รับเมื่องานวิจัย เสร็จสมบูรณ์แล้ว บอกประโยชน์ของการวิจัยที่ คาดว่าจะได้รับเมื่องานวิจัย เสร็จสมบูรณ์แล้ว

18


ดาวน์โหลด ppt การวิจัย ในชั้นเรียน การวิจัย ในชั้นเรียน คือการแสวงหาคำตอบของ คำถามที่เกี่ยวข้องกับระบบ การเรียนการสอนและ สภาพแวดล้อม คือการแสวงหาคำตอบของ คำถามที่เกี่ยวข้องกับระบบ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google