งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บริษัท AEK บรีดเดอร์ฟาร์ม สาขา ฟาร์มหนองเขิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บริษัท AEK บรีดเดอร์ฟาร์ม สาขา ฟาร์มหนองเขิน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บริษัท AEK บรีดเดอร์ฟาร์ม สาขา ฟาร์มหนองเขิน

2 สมาชิกในกลุ่ม นายวีระยุทธ สุดสาลี 5212451800
นายวีระยุทธ สุดสาลี นายปิยณัฐ ตามสีรัมย์ นางสาวรัตนา สมบัติ

3 การจัดการฟาร์มพ่อ - แม่พันธุ์ไก่เนื้อ
การเตรียมโรงเรือน 1. ปลดไก่ 2. วางยาเบื่อหนู 3.การพ่นยาฆ่าเชื่อและยาฆ่าแมลง

4 4.การถางหญ้ารอบโรงเรือน
5.การนำอุปกรณ์ออกจากโรงเรือน 6.การนำมูลไก่ออก 7.การทำความสะอาดอุปกรณ์การเลี้ยง 8.การล้างทำความสะอาดโรงเรือน ประกอบด้วย - เพดาน -พัดลม -ผ้าม่าน -พื้นโรงเรือน

5 9. การฆ่าเชื้อด้วยโซดาไฟ 10. การพ่นยาฆ่าเชื่อและยาฆ่าแมลง 11
9.การฆ่าเชื้อด้วยโซดาไฟ 10.การพ่นยาฆ่าเชื่อและยาฆ่าแมลง 11.การทำความสะอาดระบบให้น้ำ 12.การซ่อมแซมโรงเรือน 13.การนำวัสดุรองพื้นเข้าโรงเรือน

6 14.การเตรียมอุปกรณ์กกไก่ 15. การพ่นยาฆ่าเชื้อและยาฆ่าแมลง

7 16.รมควัน 17.กรมปศุสัตว์ตรวจ 18.รับไก่
(การเตรียมโรงเรือนจะใช้เวลาประมาณ 8 สัปดาห์)

8 อุปกรณ์ จำนวน/กก ขนาด/ตัว อายุไก่(วัน) วิธีการ ถาดแบน 20 60 0-7
กระปุกน้ำ 0-5 วันที่4ลดลงเหลือ 50% ถาดหลุม 65 30 5-15 ใช้เทอาหาร หัวกก 2 1000 0-14 พิจารณาตามอุณหภูมิ นิปเปิ้ล 1200 12 4-ปลดไก่ เริ่มใช้วันที่4 รางอาหาร - KPI - PAN 600 m 2000 m 10-15 12-14 20- ปลดไก่

9 พื้นที่กกตัวเมีย พื้นที่กกตัวผู้ อายุ กว้าง(เมตร) ยาว(เมตร)
พื้นที่(ตรม.) พื้นที่/ตัว(ตรม.) 0-2 3.5 8 28 40 3-5 12 42 27 6-7 98 พื้นที่กกตัวผู้ อายุ กว้าง(เมตร) ยาว(เมตร) พื้นที่(ตรม.) พื้นที่/ตัว(ตรม.) 0-2 3.5 8 28 20 3-5 12 42 14 6-7 18 63 9

10 การกกไก่ -พื้นที่กก กว้าง 3.5 m ยาว 8 m -ตัวเมียจะมี 8 กก และตัวผู้จะมี 2 กก -หัวกกจะใช้กกละ 2 ตัว โดยหัวกกใหญ่จะอยู่ข้างหน้าและหัวกกเล็กอยู่ข้าง หลัง -ความหนาของแกลบประมาณ 4-5 นิ้ว -กระปุกน้ำ 20 อัน/กก ถาดอาหาร 33 ถาด/กก -การให้อาหารไก่ในช่วงกกควรจะให้ทีละน้อยๆแต่อย่าให้ขาด -เตรียมน้ำให้พร้อม -อุณหภูมิกก ประมาณ 32 ๐C (จะต้อง standby อุณหภูมิก่อนไก่มาอย่างน้อย 4 ชั่วโมง) -อายุไก่ 2 วันเริ่มมีการขยายกกครั้งละ 2 m

11 สภาพกกก่อนการรับลูกไก่ การควบคุมการระบายอากาศ การกระจายตัวของลูกไก่
การกกไก่ (ต่อ) การรับลูกไก่ สภาพกกก่อนการรับลูกไก่ การควบคุมการระบายอากาศ การกระจายตัวของลูกไก่ การนับลูกไก่ การชั่งน้ำหนักไก่

12 การจี้ปากตัวผู้ อายุ 3-5 วัน การคัดเกรดไก่ อายุ 4สัปดาห์
การจัดการไก่เล็ก การให้อาหาร การให้วัคซีน การจี้ปากตัวผู้ อายุ 3-5 วัน การคัดเกรดไก่ อายุ 4สัปดาห์ การต่อราง การดึงแกลบ

13 การจัดการไก่รุ่น *เมื่ออายุ 5 สัปดาห์จะเริ่มให้ไก่อดอาหาร -การอดอาหารจะช่วยให้ไก่กินอาหารตรงตามที่ไก่ต้องการได้มากที่สุด หรือ การจัดการ Body Size ให้ใกล้เคียงกัน *การพลางแสง - แสงที่ใช้ประมาณ 5-10ลักซ์ -พลางแสงวันละ 8 ชั่วโมง -เพื่อเป็นการชะลอฮอร์โมนของไก่ไม่ให้ร่างกายไก่พัฒนาในการสร้างไข่ - เพื่อช่วยลดความเครียดของไก่ - เพื่อลดกิจกรรมของไก่ - เพื่อช่วยในการสร้าง Body

14 การให้แสง ROsS 308 อายุ/สัปดาห์ ชั่วโมง 1 23 2 20 3 16 4 8 5 22 13 14
25 15

15 การจัดการไก่รุ่น (ต่อ)
*การจี้เดือย อายุไก่ประมาณ 10 สัปดาห์ - การจี้เดือยจะต้องจี้ให้ปุ่มเดือยออกให้หมด เพื่อเพื่อไม่ให้ปุ่มเดือยงอกออกมา อีก จะได้ไม่เสียเวลาในการจี้อีกครั้ง - เพื่อป้องกันการขึ้นผสมตัวเมียแล้วจะเกิดแผลเพราะจะทำให้ไก่ตัวแม่พันธุ์เสีย - ป้องกันการตีกันของไก่ตัวผู้แล้วเกิดแผล

16 การจัดการไก่รุ่น (ต่อ)
*การผสมไก่ อายุ18-19 week - จะผสมในวันที่ไก่อด - การให้อาหารจะเป็นแบบ 6/1 - อุปกรณ์ต่างๆ กรงไก่ คานตัวผู้ - สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในวันที่ผสมไก่ 1. % ตัวผู้/ตัวเมีย 2. % ฟัก 3. %ไข่ 4. ไก่ที่เหลือจาก % ที่คัดไว้จะคัดทิ้ง

17 £…The end…£


ดาวน์โหลด ppt บริษัท AEK บรีดเดอร์ฟาร์ม สาขา ฟาร์มหนองเขิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google