งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทิศทางการดำเนินงานกรมควบคุมโรค จากอดีต สู่ปัจจุบัน และอนาคต (จุดเน้น 5 ปี, 10+3, 15 โครงการหลัก, ……..) พรทิพย์ ศิริภานุมาศ ผู้อำนวยการกองแผนงาน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทิศทางการดำเนินงานกรมควบคุมโรค จากอดีต สู่ปัจจุบัน และอนาคต (จุดเน้น 5 ปี, 10+3, 15 โครงการหลัก, ……..) พรทิพย์ ศิริภานุมาศ ผู้อำนวยการกองแผนงาน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทิศทางการดำเนินงานกรมควบคุมโรค จากอดีต สู่ปัจจุบัน และอนาคต (จุดเน้น 5 ปี, 10+3, 15 โครงการหลัก, ……..) พรทิพย์ ศิริภานุมาศ ผู้อำนวยการกองแผนงาน การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “ทิศทางการดำเนินงานกรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์กรมควบคุมโรคปี 2558” วันที่ 6 พฤศจิกายน 2557 ณ โรงแรมรอยัลฮิลล์ กอล์ฟ รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัดนครนายก

2 การขับเคลื่อนการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรคของประเทศ
กรอบแนวคิดการจัดทำจุดเน้น 5 ปี สู่การปฏิรูปกรมควบคุมโรค คุณลักษณะอำเภอเข้มแข็งควบคุมโรค A, B, C…….. จุดเน้น (Policy Agenda) ประเด็นโรคและภัยสุขภาพ โรค A โรค B โรค C ประเด็นการพัฒนาเชิงระบบ Surveillance KM/KT/STD/TA HRD อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน อำเภอที่เป็นพื้นที่เสี่ยง อำเภอที่เป็นพื้นที่ปกติ มาตรการการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพส่งผลต่อการลดโรค และภัยสุขภาพ พื้นที่ดำเนินการ (Setting) ที่เป็นเป้าหมาย M & E ***อำเภอเข้มแข็งต้นแบบที่มีความเข้มแข็งของการจัดการป้องกันควบคุมโรค โดยสามารถลดโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ตนเองอย่างน้อย 10 โรค (ทั้งนโยบายและพื้นที่) มีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ในระยะ 5 ปี

3 จุดเน้น 5 ปี และกรอบการจัดทำแผนปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ NHL4 ผลสัมฤทธิ์ระบบการพัฒนาคุณภาพต่อเนื่องการป้องกัน ควบคุมโรค : “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” แผนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ HL2โรคไม่ติดต่อและปัจจัยเสี่ยง HL201 ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดและเบาหวาน HL202 ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ต่อการบาดเจ็บ และโรคมะเร็ง HL203 ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคยาสูบ ต่อการเกิดโรคสำคัญ เช่น โรคถุงลมปอดอุดกั้น โรคมะเร็ง HL ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ ใน 3 เรื่องหลัก ได้แก่ การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน ความรุนแรงในครอบครัว จมน้ำตาย HL3โรคจากอาชีพและสิ่งแวดล้อม HL วัยทำงานปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข (ในภาคอุตสาหกรรม และภาคเกษตรกรรม) HL4 โรคติดต่อ HL401 ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในพื้นทีเสี่ยง HL402 ป้องกันควบคุมโรควัณโรคเชิงรุก ในพื้นที่เป้าหมาย HL403 ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ HL ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ เน้นประชากรกลุ่มเสี่ยง : หัด , มือ เท้า ปาก HL1 การพัฒนาเชิงระบบ (Backbone) HL101 กลไกการเฝ้าระวัง ตอบสนองต่อโรคและภัยสุขภาพ ภาวะปกติและฉุกเฉิน HL102 การจัดการความรู้ การรับรองมาตรฐาน และการประเมินเทคโนโลยี HL103 การพัฒนาสมรรถนะกำลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ จุดเน้นการพัฒนางานกรมควบคุมโรค 2557 เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและประสิทธิผลการควบคุมโรค การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โดยเน้นพัฒนา/สร้างความเข้มแข็งให้เกิด ดังนี้ 1) ระบบเน้น - พัฒนา “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นให้เกิดพื้นที่การควบคุมโรคต้นแบบ ที่มีความเข้มแข็งของการจัดการป้องกันควบคุมโรคที่ยั่งยืน โดยสามารถลดโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ตนเอง อย่างน้อย 10 โรค (ทั้งนโยบายและพื้นที่) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ในระยะ 5 ปี พัฒนากลไกการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน สร้าง/พัฒนาความเข้มแข็งด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D, KM, HTA) ผลิตภัณฑ์กรมควบคุมโรคให้ได้มาตรฐาน ที่ผ่านการทดสอบ ทดลองว่าได้ผล ในบริบทต่างๆ พัฒนาสมรรถนะกำลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เป็นตัวแทนของกรมควบคุมโรคที่ได้รับการยอมรับด้านวิชาการ มีผลงานเชิงประจักษ์ (ในแต่ละปี) 2) ประเด็นโรคเน้น เพื่อการป้องกันควบคุมโรค ดังนี้ กลุ่มโรคติดต่อ - ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในพื้นที่เสี่ยง - ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ - ป้องกันควบคุมโรควัณโรคเชิงรุก ในพื้นที่เป้าหมาย - ป้องกันควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ ในพื้นที่เสี่ยง - ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ เน้นประชากรกลุ่มเสี่ยง กลุ่มโรคไม่ติดต่อ และปัจจัยเสี่ยง - ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดและเบาหวาน - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ต่อการบาดเจ็บ และโรคมะเร็ง - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคยาสูบ ต่อการเกิดโรคสำคัญ เช่น โรคถุงลมปอดอุดกั้น โรคมะเร็ง - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ ใน 3 เรื่องหลัก ได้แก่ การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน ความรุนแรงในครอบครัว จมน้ำตาย โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม - วัยทำงานปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข => ในภาคอุตสาหกรรม => ในภาคเกษตรกรรม

4 International standard
DDC Policy 2014 GOAL จุดเน้น ประเด็น Information Innovation Intervention International standard Immediate 5 I มีความสุข สร้างคน สร้างระบบ งานสำเร็จ 3 ส ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพประชาชน (13 KPI) การพัฒนากลไกการเฝ้าระวัง ตอบสนองต่อโรคและภัยสุขภาพ เชิงกว้าง 5 ระบบ โดย สำนักระบาดวิทยา เชิงลึก โดยสำนัก/สถาบัน พิจารณาเสนอ ผ่าน ทีมผู้ทรงคุณวุฒิ แล้วจัดทำรายละเอียด การจัดการความรู้ รับรองมาตรฐาน ประเมินเทคโนโลยี มาตรฐานการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคภัยสุขภาพ ของกรมฯ พร้อมใช้ ทันสถานการณ์ สคร. ได้รับการrพัฒนาศักยภาพ (Scaling up 12 แห่ง) อำเภอ Best Practice การดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค ภัยสุขภาพ scaling up การพัฒนาสมรรถนะกำลังคนด้านป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพ สอดคล้องข้อ 1-3 LDC, EDC, M&E ผู้ร่วมทีมผู้ตรวจฯ สาธารณสุขนิเทศก์ การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการพัฒนาและบริการวิชาการ ร้อยละรายการจัดซื้อจัดจ้าง งบลงทุนลงนามสัญญา ไตรมาส 1 (100) ร้อยละเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมปี 2557 (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95) ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักการบรรลุเป้าหมายผลผลิตของกรม (ร้อยละ 100)

5 International standard
DDC Policy 2014 GOAL 13 KPI ด้านประสิทธิผล Information Innovation Intervention International standard Immediate 5 I มีความสุข สร้างคน สร้างระบบ งานสำเร็จ 3ส ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า 85) ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในปชก.อายุ ปี (ไม่เกินร้อยละ 13) อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน (ไม่เกิน 20 ต่อปชก.แสนคน) อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (ไม่เกิน 23 ต่อปชก.แสนคน) อัตราป่วยด้วยโรคหัดในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี (ไม่เกิน 20 ต่อปชก.เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี แสนคน) เหตุการณ์ระบาดด้วยโรคอาหารเป็นพิษลดลง ร้อยละ 50 จากค่าเฉลี่ยข้อมูล 5 ปีย้อนหลัง (ไม่เกิน 35 เหตุการณ์) อัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรค (มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 87) อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ลดลงจากปีที่ผ่านมา (ร้อยละ 5) (เป็น proxy indicator จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่) อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาลลดลง (ไม่เกินร้อยละ 8) ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบว่ามีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัยต่อพิษสารกำจัดศัตรูพืช (ไม่เกินร้อยละ 32) ระดับความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานพัฒนาศูนย์การบริการสุขภาพนานาชาติ(MEDICAL HUB)(5ขั้นตอน) ร้อยละของด่านช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด (ร้อยละ 50) ร้อยละของจังหวัดชายแดนที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด (ร้อยละ 50)

6 1.กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย
บูรณาการงบประมาณ กสธ 5 กลุ่มวัย 4 ระบบ ยุทธศาสตร์บูรณาการ 4 ระบบ ยุทธศาสตร์บูรณาการ 5 กลุ่มวัย 1.ระบบบริการ กรมการแพทย์ ควบคุมโรค 1.กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 2.ระบบควบคุมโรค แพทย์แผนไทย 2.กลุ่มเด็กวัยเรียน สุขภาพจิต สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 3.ระบบคุ้มครองผู้บริโภค 3.กลุ่มเด็กวัยรุ่น อย. 4.กลุ่มวัยทำงาน 4.ระบบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ กรมวิทย์ฯ 5.กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ สบส. อนามัย

7 จากอดีต สู่ปัจจุบัน และอนาคต
KPI 10+3

8 International standard
DDC Policy 2015 15 โครงการสำคัญ GOAL Information Innovation Intervention International standard Immediate 5 I มีความสุข สร้างคน สร้างระบบ งานสำเร็จ 3ส โครงการเฉลิมพระเกียรติฯ และพระราชดำริ พัฒนาระบบเฝ้าระวังและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ควบคุมโรคติดเขื้อในโรงพยาบาล วัยเด็ก : ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ วัยเรียน : ไข้เลือดออก อาหารเป็นพิษ วัยรุ่น : ขับเคลื่อนงานด้านควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการบริโภคยาสูบ วัยทำงาน : ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและอุบัติเหตุ ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ป้องกันควบคุมโรคติดต่อเรื้อรัง : เอดส์และวัณโรค ระบบสุขภาพ อาเซียน ควบคุมโรคในประชากรข้ามชาติ สนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน (Multi-sectoral cooperation) ความมั่นคงด้านวัคซีน แผนและการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร กรมควบคุมโรค (HRP/HRD/PMS) ระบบบริหารจัดการบนหลักธรรมาภิบาล พัฒนาวิชาการและการวิจัย

9 ยกระดับประสิทธิภาพและพัฒนาสู่ความยั่งยืน ด้านควบคุมโรคของประเทศ 2558-2562
ระบบ ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ของประเทศ DC System Excellence Center SRRT Surveillance EOC Occupational Health Agriculture/ Industry Point of entry /Border Health /Migrant Special Setting/Pop Infectious diseases Acute/Chronic Environmental Medicine Regional Disease Control ( Public Health lab) Vaccine Security Infrastructure / Equipment + Lab / IT+MIS Manpower / HRD / ITC /R & D

10 (ร่าง) ความสำเร็จจากการดำเนินงาน (Key Performance Indicator) เพื่อบรรลุ ผลสัมฤทธิ์จุดเน้นการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค 15 โครงการหลัก กรมควบคุมโรค ปี 2558 ด้วย “3ส 5I” งานสำเร็จ คนสุข สร้างคน สร้างระบบ ผลสัมฤทธิ์จุดเน้นฯ 15 โครงการหลัก Key Performance Indicator กรอบคำรับรองฯ ของหน่วยงาน 1. โครงการเฉลิมพระเกียรติฯ 1.1)ความครอบคลุม dT 1.2)ความครอบคลุม MR 2. ระบบเฝ้าระวังและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ 2.1) ร้อยละ 50 ของอำเภอสามารถควบคุมโรค (ไข้เลือดออก หัด คอตีบ) 2.2) ร้อยละ 80 ของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯ 3. ควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล 3.1) อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล 4. ป้องกันควบคุมโรคในวัยเด็ก 4.1) ศูนย์เด็กเล็ก (สังกัด อปท.) 5. ป้องกันควบคุมโรคในวัยเรียน 5.1) อัตราป่วยไข้เลือดออก 5.2) การระบาดด้วยโรคอาหารเป็นพิษ 6. ป้องกันควบคุมโรคในวัยรุ่น 6.1) ความชุกผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ) ร้อยละผู้สูบบุหรี่ในกลุ่มวัยรุ่น 7. ป้องกันควบคุมโรคในวัยทำงาน 7.1) อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน 7.2) อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ 8. โรคจากการประกอบอาชีพฯ 8.1) ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบว่ามีความเสี่ยงฯ 9. ป้องกันควบคุมโรคติดต่อเรื้อรัง 9.1) ร้อยละของ รพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณโรค 9.2) จำนวนผู้ติดเชื้อHIVสามารถเข้าถึงยาต้านไวรัส 10. ระบบสุขภาพโลก อาเซียน ประชากรต่างด้าว 10.1) ร้อยละของด่านช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศผ่านเกณฑ์การประเมิน 10.2) จำนวนจังหวัดชายแดนผ่านเกณฑ์การประเมิน 11. สนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน 11.1) ร้อยละของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯ 12. ความมั่นคงทางวัคซีน 12.1) ระดับความสำเร็จของการขับเคลื่อนการดำเนินงานพัฒนาวัคซีน (รอยืนยัน) 13. แผนและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร 13.1) ร้อยละของบุคลากรมีสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กำหนด 13.2) หลักสูตร LDC ) หลักสูตร EDC 13.4) หลักสูตร “การพัฒนาศักยภาพผู้นิเทศ ติดตาม ประเมินผลฯ(NHA)” (รอยืนยัน) 14. พัฒนาระบบบริหารจัดการบนหลักธรรมาภิบาล 14.1) ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสฯ 14.2) ร้อยละของรายการจัดซื้อจัดจ้าง ฯ 14.3) ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณฯ 14.4) ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายผลผลิตของกรมฯ 15. พัฒนาวิชาการและการวิจัย 15.1) จำนวนองค์ความรู้ที่ได้มาตรฐานฯ สำนัก/สบ. 1. จังหวัดเข้มแข็งในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ - อาหารเป็นพิษ ……..จังหวัด - วัคซีน dT ครอบคลุมเป้าหมาย - คลินิก NCD คุณภาพ - ควบคุมโรคเอดส์ …….จังหวัด 2. จำนวนเครือข่ายที่สนับสนุนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ -โรงเรียนป้องกันควบคุมโรคอาหารเป็นพิษ 3. จำนวน/ความครบถ้วนของผลิตภัณฑ์ที่ตอบมาตรการ/มาตรฐานในแต่ละกลุ่มเสี่ยงตามบริบท 5. จำนวนผู้เชี่ยวชาญ (5 ด้าน : National Lead, Model Development, Surveillance , Technology Transfer M&E, Problem Solving, Evaluation ) สคร. 1. ร้อยละของอำเภอสามารถควบคุมโรคและภัยสุขภาพสำคัญของพื้นที่ 2. จำนวนมาตรการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่พัฒนาสอดคล้องกับบริบท 5 เรื่อง (ตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข 2 เรื่อง ปัญหาพื้นที่ 3 เรื่อง) 3. จำนวนเครือข่ายมีการพัฒนา สามารถดำเนินการในพื้นที่ 4. จำนวนผู้เชี่ยวชาญในแต่ละโรคและภัยสุขภาพที่เข้าไปดำเนินการในพื้นที่ กองบริหาร 1. ร้อยละของหน่วยงานที่สามารถดำเนินการตามแนวทางที่กำหนด ร้อยละความพึงพอใจต่อแนวทางที่กำหนด 2. จำนวนผู้เชี่ยวชาญในหน่วยงาน มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล 1.ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายการดำเนินการตามภารกิจกรม ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์กรมและตามภารกิจหลักของหน่วยงาน 1.1 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักการดำเนินงานตามภารกิจกรมฯ *1.1.1 ร้อยละของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง 1.2 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการบรรลุความสำเร็จตามตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่กำหนด 1.2.1 ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมสุขภาพฯ 1.2.2 จำนวนของหน่วยงานที่มีกลไกการเตรียมความพร้อมและการตอบโต้ ฯ 1.2.3 จำนวนรายงานพยากรณ์โรคฯ 1.3 กลุ่มตัวชี้วัดที่หน่วยงานเพิ่มเติมตามบทบาทภารกิจหลักของหน่วยงาน มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ 2. ร้อยละของระดับความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผู้รับบริการ 2.1 สัดส่วนของกลุ่มลูกค้าหรือกลุ่มผู้ใช้ผลิตภัณฑ์มีความพึงพอใจฯ มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 3. ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณฯ 4. ระดับความสำเร็จของการติดตามการดำเนินงานฯ 5. ระดับความสำเร็จของการนำข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลฯ มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร 6. ระดับความสำเร็จของหน่วยงานในการดำเนินการบริหารจัดการภาครัฐฯ 7. ระดับความสำเร็จของการบริหารผลการปฏิบัติงาน 8. ระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ 9. ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานตามแนวทางการสร้างความโปร่งใสกรมฯ (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2557)

11 Q & A

12 ขอบคุณค่ะ

13 วิสัยทัศน์กรมควบุคมโรค
เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการ ภายในปี 2563 ยุทธ ศาสตร์ ค่านิยมองค์การ I SMART พัฒนา ร่วมมือกับเครือข่ายภาคีภายในและนานาชาติ พัฒนาเป็นศูนย์กลางนโยบาย มาตรการ นวัตกรรม ข้อมูลอ้างอิง และมาตรฐานวิชาการ สื่อสารสาธารณะ ประชาสัมพันธ์ ทั่วถึง ได้ผล เตรียมพร้อม ตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉิน ภัยพิบัติอย่างรวดเร็ว การติดตามและประเมินผล บริหารจัดการและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร Integrity Service mind Mastery/ Expertise Achievemt motivation Relationship Teamwork

14 ทิศทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค ปี 2558
เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและประสิทธิผล การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ยกระดับประสิทธิภาพและพัฒนาสู่ความยั่งยืนด้านควบคุมโรคของประเทศ Surveillance system, EOC, SRRT COE => BDI/Rajpracha Institute/Regional Disease Control Office Vaccine Security HRP/HRD/PMS Global Health /ASEAN/ITC/IRC ขับเคลื่อนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ Acute CD => DHF/EPI/HFM /Food poisoning Chronic CD => TB/AIDS/Leprosy NCD & Injury, incl. Alcohol & Tobacco Env-Occ => Agriculture Sector Multi-sectoral Collaboration Health in all policies (HIAP) One health => EID, Zoonosis DHS/DC Community

15 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ป้องกันได้
ศักยภาพทีม SRRT SRRT สามารถดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคได้ ครบวงจร ระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน มีระบบข้อมูล Real time พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน พัฒนาระบบสนับสนุนการปฏิบัติการ ระบบเฝ้าระวัง บูรณาการระบบเฝ้าระวังโรค (5 ระบบ 5 มิติ) พัฒนาเจ้าหน้าที่ทุกระดับ สามารถจัดการระบบเฝ้าระวังได้ มาตรฐานกฎอนามัยระหว่างประเทศ ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ควบคุมโรคและภัยในพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ระบบควบคุมโรคและภัย ระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค 5 ระบบ => CD NCD Env. Occ. Injury HIV/AIDS 5 มิติ => อัตราป่วย/ตาย พฤติกรรมเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง เหตุการณ์ผิดปกติ และมาตรการสำคัญ ครอบคลุมถึง ASEAN Migrants ช่องทางเข้าออก ระบบเฝ้าระวังช่องทางเข้าออก ระบบบริหารจัดการ สมรรถนะ ประชากรต่างด้าว พัฒนาระบบมูลประชากรต่างด้าว จัดให้ประชากรต่างด้าวเข้าถึงบริการป้องกันควบคุมโรคขั้นพื้นฐาน สุขภาวะชายแดน พัฒนาสุขภาวะชายแดนตามกรอบกฎอนามัยระหว่างประเทศ

16 กรอบงาน ปี 2559 กรมควบคุมโรค สอดคล้องนโยบาย ทิศทาง ตาม 5 หน้าที่
กรอบงาน ปี กรมควบคุมโรค สอดคล้องนโยบาย ทิศทาง ตาม 5 หน้าที่ 11 บทบาท NHA KPI ……….. KPI กระทรวง จุดเน้นกรมฯ ระบบเฝ้าระวังพื้นฐาน และการบริหารจัดการ ยุทธศาสตร์บูรณาการ สธ 5 กลุ่มวัย/ ระบบบริการ/ ระบบควบคุมโรค/สิ่งแวดล้อม Better Service / ASEAN /โครงการเฉลิมพระเกียรติฯ การจัดสรรงบประมาณ (3R) โรคและภัยตามจุดเน้น งานตาม function กรมฯ ระบบเฝ้าระวัง/R&D/HRD&HRM

17 ทิศทางการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
ปี 57 ตัวชี้วัดการดำเนินงาน ปี 58 โครงการสำคัญ 15 ประเด็น ปี 59 โครงการสำคัญ 15 ประเด็น + นโยบายสำคัญ

18 International standard
DDC Policy 2015 15 โครงการสำคัญ GOAL Information Innovation Intervention International standard Immediate 5 I มีความสุข สร้างคน สร้างระบบ งานสำเร็จ 3ส โครงการเฉลิมพระเกียรติฯ และพระราชดำริ พัฒนาระบบเฝ้าระวังและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ควบคุมโรคติดเขื้อในโรงพยาบาล วัยเด็ก : ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ วัยเรียน : ไข้เลือดออก อาหารเป็นพิษ วัยรุ่น : ขับเคลื่อนงานด้านควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการบริโภคยาสูบ วัยทำงาน : ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและอุบัติเหตุ ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ป้องกันควบคุมโรคติดต่อเรื้อรัง : เอดส์และวัณโรค ระบบสุขภาพ อาเซียน ควบคุมโรคในประชากรข้ามชาติ สนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน (Multi-sectoral cooperation) ความมั่นคงด้านวัคซีน แผนและการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร กรมควบคุมโรค (HRP/HRD/PMS) ระบบบริหารจัดการบนหลักธรรมาภิบาล พัฒนาวิชาการและการวิจัย


ดาวน์โหลด ppt ทิศทางการดำเนินงานกรมควบคุมโรค จากอดีต สู่ปัจจุบัน และอนาคต (จุดเน้น 5 ปี, 10+3, 15 โครงการหลัก, ……..) พรทิพย์ ศิริภานุมาศ ผู้อำนวยการกองแผนงาน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google