งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความเสี่ยงด้านอุปกรณ์และเครื่องจักรกล แนวทางการป้องกัน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความเสี่ยงด้านอุปกรณ์และเครื่องจักรกล แนวทางการป้องกัน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความเสี่ยงด้านอุปกรณ์และเครื่องจักรกล แนวทางการป้องกัน
ผศ.ดร.เด่นพงษ์ สุดภักดี อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล และ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2 Outlines ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร
ระบบไอน้ำและหม้อไอน้ำ

3 การใช้เครื่องจักรทั่วไป

4 การทำงานกับเครื่องจักรทั่วไป
สวมใส่หมวก ถุงมือ แว่นตา หน้ากากเครื่องป้องกันเสียง รองเท้าพื้นยางหุ้มส้น หรือเครื่องป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอื่น ๆ ตามสภาพและลักษณะของงาน สวมใส่เครื่องนุ่งห่มให้เรียบร้อย รัดกุม ไม่ขาดรุ่งริ่ง ในกรณีที่ทำงานเกี่ยวกับการ ใช้ไฟฟ้า จะต้องสวมเครื่องนุ่งห่มที่ไม่เปียกน้ำ ดูแลมิให้มีผมยาวเกินสมควร และมิได้รวบหรือทำอย่างหนึ่งอย่างใดให้อยู่ในลักษณะที่ปลอดภัย หรือสวมใส่เครื่องประดับ ที่อาจเกี่ยวโยงกับสิ่งหนึ่งสิ่งใดได้ เข้าทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร

5 อุปกรณ์เพื่อป้องกันอันตรายจากเครื่องจักร
เครื่องจักรที่ใช้พลังงานไฟฟ้า ต้องมีสายดินเพื่อป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่ว เครื่องจักรที่ใช้พลังงานไฟฟ้า ต้องมีสายไฟฟ้าเข้าเครื่องจักรโดยฝังดินหรือเดินลงมาจากที่สูง ทั้งนี้ให้ใช้ ท่อร้อยสายไฟฟ้าให้เรียบร้อย เว้นแต่ใช้สายไฟฟ้าชนิดที่มีฉนวนหุ้มเป็นพิเศษ เครื่องจักรชนิดอัตโนมัติ ต้องมีสีเครื่องหมายปิด เปิด ที่สวิตช์อัตโนมัติตามหลักสากล และ มีเครื่องป้องกันมิให้สิ่งหนึ่งสิ่งใดกระทบสวิตช์ เป็นเหตุให้เครื่องจักรทำงานโดยมิได้ตั้งใจ

6 อุปกรณ์เพื่อป้องกันอันตรายจากเครื่องจักร
เครื่องจักรที่ใช้เพลา สายพาน ปุลเล ไฟล์วีล ต้องมีตะแกรงเหล็กเหนียว ครอบส่วนที่หมุนได้และส่วนส่งถ่ายกำลังให้มิดชิด ถ้าส่วนที่หมุนได้หรือส่วนส่งถ่ายกำลังสูงกว่าสองเมตร ต้องมีตะแกรง หรือรั้วเหล็กเหนียวสูงไม่ต่ำกว่าสองเมตรกั้นล้อมให้มิดชิด ใบเลื่อยวงเดือนที่ใช้กับเครื่องจักรซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงานได้ต้องมีที่ครอบ ใบเลื่อยส่วนที่สูงเกินกว่าพื้นโต๊ะหรือแท่น

7 ระบบไอน้ำและหม้อไอน้ำ
การดูแลรักษา

8 Boiler House

9 Boiler House

10 Boiler House

11 ระบบไอน้ำ

12 ข้อพึงระวังส่วนผลิตไอน้ำ
เชื้อเพลิง ด้านไฟ หม้อไอน้ำ น้ำ ด้านน้ำ ด้านไฟ ด้านน้ำ ประสิทธิภาพการเผาไหม้, เขม่า ตะกรัน, กัดกร่อน, แครี่โอเวอร์

13 อุบัติเหตุจากหม้อไอน้ำ
เกิดจากอะไร

14 หม้อไอน้ำของโรงงานฟอกย้อมผ้ายีนส์ระเบิด
ตั้งอยู่ที่ถนนเทพารักษ์ อำเภอบางพลี จังหวัด สมุทรปราการ ระเบิดวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2546 มีผู้เสียชีวิต 5 คน มีผู้บาดเจ็บ 12 คน

15 หม้อไอน้ำระเบิดของโรงงานฟอกย้อมผ้ายีนส์

16 หม้อไอน้ำระเบิดของโรงงานฟอกย้อมผ้ายีนส์

17 หม้อไอน้ำระเบิดของโรงงานฟอกย้อมผ้ายีนส์
สภาพหม้อไอน้ำภายหลังการเกิดอุบัติเหตุ

18 หม้อไอน้ำระเบิดของโรงงานฟอกย้อมผ้ายีนส์
สภาพท่อไฟใหญ่ที่ฉีกขาดบริเวณรอยเชื่อมยึดผนังหน้าและผนังหลัง

19 หม้อไอน้ำระเบิดของโรงงานฟอกย้อมผ้ายีนส์

20 สาเหตุการเกิดระเบิด เกิดจาก OVER HEAT ที่ส่วนล่างของท่อไฟใหญ่
มีตะกรันจับหนาที่ท่อไฟใหญ่หนาไม่ต่ำกว่า 2 หุน มีโคลนตะกอนสะสมอยู่ใต้ท่อไฟใหญ่มาก เหล็กที่สร้างหม้อไอน้ำเป็นเหล็กคุณภาพต่ำ ทนอุณหภูมิได้ต่ำ เกิดจาก OVER PRESSURE เนื่องจาก ท่อไฟใหญ่มีการกร่อนพรุนเป็นหลุมลึกและบางมาก การออกแบบและการสร้างหม้อไอน้ำไม่เป็นไปตามมาตรฐาน โดยท่อไฟใหญ่มี Ø โต 44 นิ้ว แต่ไม่มีวงแหวนรัด

21 หม้อน้ำโรงงานอาหารทะเลแช่แข็งและบรรจุกระป๋องระเบิด
วันที่เกิดเหตุ 21 มีนาคม 2548 หม้อไอน้ำท่อไฟนอน ขนาด 10 ตัน/ชั่วโมง ความดันใช้งาน 110 psi. อายุการใช้งาน 3 ปี

22 สภาพอาคารที่หม้อน้ำระเบิด

23 สภาพการฉีกขาดของเหล็กยึดโยงและการแตกระเบิดของผนังหลัง

24 หม้อน้ำกระเด็นจากฐานที่ตั้ง~50 เมตรและตกลงในคูน้ำหลังโรงงาน

25 สาเหตุการเกิดระเบิด โครงสร้างหม้อน้ำไม่ได้มาตรฐาน
การติดตั้งเหล็กยึดโยงผิดจากแบบที่มาตรฐานกำหนด ความบกพร่องในการตรวจสอบความปลอดภัยโดย วิศวกรตรวจทดสอบ ไม่มีการตรวจสภาพภายใน โรงงานขาดความเอาใจใส่หม้อน้ำ

26 ตะกรัน

27 การกัดกร่อน

28 การตรวจสภาพน้ำ

29 หม้อน้ำโรงงานผลิตถุงมือยางถุงมือแพทย์ระเบิด
วันที่เกิดเหตุ 26 กรกฎาคม 2548 ข้อมูลทั่วไป - หม้อไอน้ำท่อไฟนอน ขนาด 15 ตัน/ชั่วโมง - ความดันใช้งาน 170 psi. - อายุการใช้งาน 7 ปี - ใช้ฟืนเป็นเชื้อเพลิง

30 OVERHEAT-หม้อน้ำระเบิด
น้ำแห้ง อุปกรณ์ควบคุมระดับน้ำชำรุด ตะกรันภายในหม้อไอน้ำหนามาก น้ำเข้าหม้อไอน้ำมีคุณสมบัติไม่เหมาะสม ขาดการตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษาที่ถูกต้อง

31 สถิติการเกิดอุบัติเหตุ
ระหว่างปี เกิดอุบัติเหตุ 48 ครั้ง หม้อน้ำไม่ได้มาตรฐาน 33 ครั้ง เสียชีวิต 59 ศพ บาดเจ็บ 115 คน หม้อน้ำมาตรฐาน 10 ครั้ง เสียชีวิต 5 ศพ บาดเจ็บ 26 คน ถังเก็บน้ำร้อน 1 ครั้ง เสียชีวิต 1 ศพ บาดเจ็บ 9 คน วาล์วจ่ายไอน้ำ 1 ครั้ง เสียชีวิต 1 ศพ หม้อต้มน้ำมัน (Thermal Oil Boiler) 3 ครั้ง

32 สรุปสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดหม้อน้ำระเบิดในปัจจุบัน
บกพร่องในการเลือกใช้หม้อน้ำ อุปกรณ์ความปลอดภัยและอุปกรณ์ควบคุมการทำงานต่างๆ เน้นราคาถูก ไม่ได้เปรียบเทียบคุณภาพด้านความปลอดภัย การประหยัดพลังงาน การเกิดมลภาวะ บกพร่องในการติดตั้งหม้อน้ำ และระบบอุปกรณ์ใช้ไอน้ำ

33 สรุปสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดหม้อน้ำระเบิดในปัจจุบัน
บกพร่องต่อการตรวจสอบความปลอดภัย วิศวกรตรวจทดสอบ ผู้ประกอบกิจการโรงงาน บกพร่องในการใช้งาน และดูแลบำรุงรักษา ผู้ควบคุมประจำหม้อน้ำ

34 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt ความเสี่ยงด้านอุปกรณ์และเครื่องจักรกล แนวทางการป้องกัน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google