งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

 หนังสือเล่มนี้มาจากงานวิจัยกว่าเก้าปีของ ผู้เขียนทั้งสอง โดยในปี 2002 ผู้เขียนทั้งคู่ตั้ง คำถามสำคัญขึ้นมา ว่า ทำไมบริษัทบางบริษัท ถึงได้ประสบความสำเร็จในสภาวะแวดล้อมที่มี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: " หนังสือเล่มนี้มาจากงานวิจัยกว่าเก้าปีของ ผู้เขียนทั้งสอง โดยในปี 2002 ผู้เขียนทั้งคู่ตั้ง คำถามสำคัญขึ้นมา ว่า ทำไมบริษัทบางบริษัท ถึงได้ประสบความสำเร็จในสภาวะแวดล้อมที่มี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2  หนังสือเล่มนี้มาจากงานวิจัยกว่าเก้าปีของ ผู้เขียนทั้งสอง โดยในปี 2002 ผู้เขียนทั้งคู่ตั้ง คำถามสำคัญขึ้นมา ว่า ทำไมบริษัทบางบริษัท ถึงได้ประสบความสำเร็จในสภาวะแวดล้อมที่มี การเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ในขณะที่บริษัท อื่นที่มีรูปแบบธุรกิจ กลยุทธ์ แนวทางการบริหาร ในลักษณะเดียวกันถึงได้ประสบความล้มเหลว

3  ในหนังสือเล่มนี้ผู้เขียนทั้งสองเรียกบริษัทที่ ประสบความสำเร็จท่ามกลางสภาวะแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลงอย่างมากมายและรุนแรง ว่า พวก 10X ซึ่งที่มาของชื่อดังกล่าวก็เนื่องจากบริษัท เหล่านี้ ( มีทั้งหมด 7 บริษัทที่ผ่านเกณฑ์จาก ทั้งหมด 20,400 บริษัทที่ทำการศึกษาครับ ) ต่าง มีผลประกอบการและการเติบโตที่สูงกว่า ค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมตนเองอย่างน้อย 10 เท่า  กลุ่ม 10X ในการศึกษานี้ :  :Amgen, Biomet, Intel, Microsoft, Progressive Insurance, Southwest Airlines, Stryker

4  Three basic tests: The enterprise sustained truly spectacular results for an era of 15+ years relative to the general stock market and relative to its industry. The enterprise achieved these results in a particularly turbulent environment, full of events that were uncontrollable, fast-moving, uncertain, and potentially harmful. The enterprise began its rise to greatness from a position of vulnerability, being young and/or small at the start of its 10X journey.

5  Successful leaders in a turbulent world are bold, risk-seeking visionaries  Innovation distinguishes 10X companies in a fast-moving, uncertain and chaotic world  A threat-filled world favours the speedy; you are either the quick or the dead  Radical change on the outside requires radical change on the inside  Great enterprises with 10X success have a lot more good luck But 10Xers havn’t

6  They’re not more creative  They’re not more visionary  They’re not more charismatic  They’re not more ambitious  They’re not more blessed by luck  They’re not more risk seeking  They’re not more heroic  They’re not more prone to making big, bold moves

7  Fanatical Discipline  Empirical Creativity  Productive Paranoia  Level 5 ambition

8 Fanaical Disciplin e Productiv e Paranoid Level 5 ambition Empirical Creativity

9  Fanatical Discipline  20 Mile March  ตัวอย่างของ 10X บริษัทหนึ่ง ก็คือ สายการ บิน Southwest ครับ ที่ในปี 1996 อุตสาหกรรมการบินมีการเติบโตอย่างมาก มี เมืองกว่า 100 เมืองที่ต้องการให้ Southwest บินไปลง แต่สุดท้ายแล้วในปีนั้น Southwest ได้เปิดเส้นทางการบินในเมืองแค่ 4 เมืองเอง  Empirical Creativity  Bullets then cannonball  Ex. Apple Rebirth

10  Productive Paranoia 1: Build cash reserves and buffers – oxygen canisters –to prepare for unexpected events and bad luck before they happen. Southwest Airline = สำรองเงินไว้ ทำให้ไม่ขาดทุน ไม่ ลดเที่ยวบิน หลังเกิด 11/9  Productive Paranoia 2: Bounding risk: – Death Line risk, asymmetric risk, and uncontrollable risk – and manage time- based risk.

11  Productive Paranoia 3: Zoom out, then zoom in, remaining hyper-vigilant to sense changing conditions and respond effectively  Zoom Out Sense a change in conditions. Assess the time frame: How much time before the risk profile changes? Assess with rigor: Do the new conditions call for disrupting plans? If so, how?  Zoom In Focus on supreme execution of plans and objectives.

12  10Xers channel their ego and intensity into something larger and more enduring than themselves.  They’re ambitious, for a purpose beyond themselves, Be it building a great company, Changing the world, or Achieving some great object that’s ultimately not about them.

13  Ex. Microsoft 1985-1997, south west airline  There are two healthy approaches to amending the SMaC recipe:  1. Exercising empirical creativity, which is more internally driven, and  2. Exercising productive paranoia, which is more externally focused.  The first involves firing bullets to discover and test a new practice before making it part of the recipe.  The second employs the discipline to zoom out to perceive and assess a change in conditions, then to zoom in to implement amendments as needed.

14

15  องค์กรที่ประสบความสำเร็จยืนยงท่ามกลาง กระแสแห่งการเปลี่ยนแปลง มีโชคดีหรือร้าย มากกว่าหรือน้อยกว่าองค์กรอื่นหรือไม่ และ โชค มีส่วนทำให้เขาประสบความสำเร็จเท่าไร  ทีมงานนักวิจัยเริ่มให้คำจำกัดความว่าโชคที่จะ ศึกษา คืออะไร และสรุปว่าต้องมีลักษณะเข้าข่าย 3 ประเด็น คือ  1. เป็นเหตุการณ์ที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของเรา เขามาเอง ไม่ว่าจะขอหรือไม่  2. เป็นประเด็นที่สามารถก่อให้เกิดผลลัพธ์สำคัญ นั่นคือ เป็นเรื่องใหญ่ ไม่หยุมหยิม  3. ไม่สามารถคาดเดาได้ว่าจะเกิดหรือไม่เกิด หรือ เกิดเมื่อไร

16  จากนั้น ทีมงานได้ติดตามและศึกษาข้อมูลขององค์กรต่างๆ หลากหลาย ตลอด 9 ปี เพื่อรวบรวมประเด็น และวิเคราะห์ว่า แต่ละองค์กรที่ประสบความสำเร็จและคู่แข่งที่สำเร็จน้อยกว่า มี โชคทั้งดีและร้าย มากน้อยต่างกันอย่างไร  ผลปรากฏว่า หลังจากประเมินทั้งในแง่จำนวน และคุณภาพ ของ “ โชค ” ที่แต่ละองค์กรและคู่แข่งประสบ เขาพบว่า  ทั้งองค์กรที่ประสบความสำเร็จ และองค์กรที่ไม่สำเร็จ เท่า ต่างมีจำนวนโชคทั้งดีและร้ายคล้ายกันมาก มิได้มี ใครได้เปรียบเสียเปรียบกันอย่างมีนัยสำคัญแต่ประการ ใด  แต่สิ่งที่ทีมงานวิจัยค้นพบและฟันธงว่าสำคัญกว่าคือ แม้มีโชค ดีและร้ายคล้ายๆ กัน  องค์กรที่ประสบความสำเร็จ สามารถเก็บเกี่ยวผลลัพธ์จากโชค ได้อย่างมีประสิทธิภาพกว่าใครต่างหาก มิใช่เป็นเพราะมีโชค มากกว่า  ใคร  อาจารย์ Collins เรียกมุมมองนี้ว่า ROL- Return on Luck หรือ ผลตอบแทนจากโชค

17  เมื่อโชคลอยมา จะเกิด ROL 4 รูปแบบคือ  1. เก็บเกี่ยวได้ เมื่อมีโชคดี และเราสามารถเก็บเกี่ยวประโยชน์ได้เต็มที่ เพราะเรามีความพร้อม มาปุ๊บ ได้ปั๊บ จับได้เต็มๆ  2. พลาดโอกาส มีโชคดีแต่เราพลาด ไม่ได้ใช้โอกาสอย่างน่าเสียดาย อาจ เป็นเพราะไม่เห็น เลยปล่อยให้เขาลอยผ่านไป หรือได้มา ก็ใช้ค่าไม่เป็น  3. ซวย มีโชคร้ายกระหน่ำ ซ้ำเติม เป็นภัย โดยเราไม่ได้ตั้งตัว มิได้ เตรียมพร้อม พอโชคร้ายย่างกรายเข้าใกล้ จึงรับมือไม่ไหว ได้แต่คร่ำครวญว่า ทำไมต้องเป็นฉัน  4. เอาอยู่ มีโชคร้ายแต่เรากล้าสู้ ลองดูกันสักตั้ง แบบไม่นั่งดูดาย หากสู้ไม่ ไหว ก็ฉลาดและมีหนทางที่จะถอยห่างทันท่วงที แต่แม้บางครั้งแพ้ ก็ไม่ตี โพยตีพาย ส่ายหน้าฟาดหาง โดยเห็นประโยชน์จากสถานการณ์ ทำตัวให้ได้ เหมือนบุคคลตัวอย่าง เช่น คุณกฤษณะ ละไล “ มนุษย์ล้อ ” พิธีกรที่เด่น แตกต่าง เพราะความพิการ  ผลการศึกษาชี้ว่า องค์กรที่ประสบความสำเร็จ มีพฤติกรรมตามข้อ 1 และ 4 กล่าวคือ สามารถใช้ทั้งโชคดีและโชคร้ายให้ได้ประโยชน์สูงสุด ทั้งนี้เป็น เพราะเขาเตรียมความพร้อม ซ้อมรับมือกับเรื่อง “ บังเอิญ ” ที่เขารู้ว่าอย่างไรก็ ต้องเกิด เพียงแต่ไม่รู้ว่าเมื่อไร จึงไม่เคยประมาท เมื่อพร้อมรับ จึงมั่นคง ไม่ หวั่นไหว ไม่วอกแวกไม่ว่าจะได้โชคดีหรือร้าย ก็สามารถใช้สติและความ พร้อมน้อมนำ ไขว่คว้าโชคที่ลอยมา เพื่อทำให้เกิดประโยชน์ต่อไป ไม่เสีย ของ  อาจารย์ Jim Collins สรุปการวิจัยว่า เราจะอยู่หรือจะไป จะประสบความสำเร็จหรือไม่ ขึ้นกับว่า เราทำอะไรกับโลก มากกว่า โลกทำอะไรกับเรา ความสำเร็จ และ Return on Luck สร้างได้ ไม่บังเอิญ ครับ


ดาวน์โหลด ppt  หนังสือเล่มนี้มาจากงานวิจัยกว่าเก้าปีของ ผู้เขียนทั้งสอง โดยในปี 2002 ผู้เขียนทั้งคู่ตั้ง คำถามสำคัญขึ้นมา ว่า ทำไมบริษัทบางบริษัท ถึงได้ประสบความสำเร็จในสภาวะแวดล้อมที่มี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google