งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
เรื่อง อารยธรรมจีน จัดทำโดย. นางสาววิทิตา สุขทั่วญาติ

2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
รู้และเข้าใจความสำคัญและลักษณะของหลักฐานทางประวัติศาสตร์

3 สารบัญอารยธรรมจีน w ปัจจัยทางภูมิศาสตร์กับการตั้งถิ่นฐาน
คลิกตามหัวข้อที่ต้องการศึกษา w ปัจจัยทางภูมิศาสตร์กับการตั้งถิ่นฐาน w อารยธรรมจีนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ w อารยธรรมจีนสมัยประวัติศาสตร์ w มรดกทางวัฒนธรรมของอารยธรรมจีน w แบบทดสอบ

4 ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ กับการตั้งถิ่นฐาน อารยธรรมจีน
จัดทำโดย. นางสาววิทิตา สุขทั่วญาติ

5 ทะเลทรายโกบี แม่น้ำเหลือง แม่น้ำแยงซี
มหาสมุทรแปซิฟิก ที่ราบสูงทิเบต และเทือกเขาหิมาลัย ประเทศไทย

6 ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ จีนได้รับอิทธิพลจากสภาพภูมิศาสตร์อย่างมาก พื้นที่ชายแดนมากกว่าหนึ่งในสามเป็นทิวเขาสูง ได้แก่ พรมแดนธรรมชาติด้านตะวันตกเฉียงใต้ ได้แก่ ทิวเขาหิมาลัยพรมแดนธรรมชาติด้านตะวันตก ได้แก่ ทิวเขาคุนลุนและเทียนชาน

7 ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ พรมแดนธรรมชาติด้านตะวันตกของเทียนชาน ได้แก่ ทะเลทรายโกบีและด้านตะวันออก คือ มหาสมุทร แปซิฟิค ทำให้ชาวจีนเป็นนักเดินเรือที่สำคัญชาติหนึ่ง แต่ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร เพราะจีนมีพื้นที่เกษตรอุดมสมบูรณ์กว้างขวางหลายแห่ง แม้ทางตะวันตกจะเป็นที่ราบสูง แต่ทางด้านตะวันออกเป็นที่ราบกว้างใหญ่ โดยเฉพาะทางตะวันออกเฉียงตอนเหนือของจีน ซึ่งมีความเจริญมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์

8 บริเวณที่ราบสูงทิเบต
ที่ราบสูงทิเบต ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน และมีพื้นที่บางส่วนในลาดักแคว้นแคชเมียร์ เป็นที่ราบกว้างใหญ่ มีพื้นที่ประมาณ 1.3 ล้านตารางกิโลเมตร มีความสูงโดยเฉลี่ย 4,600 เมตร จากระดับน้ำทะเล จึงได้ชื่อว่าเป็นหลังคาโลก เขตที่ราบสูงทิเบตเป็นเขตที่ราบสูงที่มีภูเขาล้อมถึง 3 ด้าน ทางทิศเหนือมีเทือกเขาคุนหลุน ทิศใต้มีเทือกเขาหิมาลัย และทางทิศตะวันตกมีเทือกเขาคาราโครัม ที่ราบสูงทิเบตเป็นแหล่งต้นกำเนิดของแม่น้ำที่สำคัญหลายสายได้แก่ แม่น้ำเหลือง แม่น้ำแยงซี แม่น้ำสินธุ แม่น้ำสาละวิน แม่น้ำโขง แม่น้ำพรหมบุตร

9 แม่น้ำหวงเหอ แม่น้ำหวงเหอ หรือแม่น้ำเหลืองเป็นแม่น้ำใหญ่อันดับที่ 2 ของจีน ความยาวรวม 5,464 กิโลเมตร บริเวณลุ่มแม่น้ำหวงเหอมีเขตเลี้ยงสัตว์ที่ดีเป็นจำนวนมาก และก็เป็นเขตที่มีสินแร่ อุดมสมบรูณ์ เคยเป็นแหล่งกำเนิดอันสำคัญทางอารยธรรมในสมัยโบราณของจีนในประวัติศาสตร์

10 ทะเลทรายโกบี ทะเลทรายโกบี ( Gobi ) ซึ่งทอดขนานกั้นพรมแดนระหว่างประเทศจีนกับประเทศมองโกเลียมีความยาวประมาณ 2,000 กิโลเมตร ดินแดนแถบนี้ตกอยู่ ใต้อิทธิพลของอากาศหนาวจากขั่วโลกเหนือ อุณหภูมิของทะเลทรายในฤดูหนาวจึงลดต่ำกว่าจุดเยือกแข็งของน้ำแข็งถึง 45 องศา แต่พอถึงฤดูร้อนอากาศร้อนสุดๆ เหมือนกัน นอกจากภาวะอากาศที่แสนโหดนี้แล้ว ทะเลทรายโกบี ยังมีพายุทะเลทรายอีกด้วย ลมร้อนที่รุนแรงสามารถหอบละอองทรายเม็ดเล็กๆ ไปตกในกรุงปักกิ่งที่อยู่ห่างไกลออกไปถึง 500 กิโลเมตร ได้

11 สมัยก่อนประวัติศาสตร์
อารยธรรมจีน สมัยก่อนประวัติศาสตร์ จัดทำโดย. นางสาววิทิตา สุขทั่วญาติ

12 อารยธรรมจีนสมัยก่อนประวัติศาสตร์
หลักฐานโบราณคดีมากมายที่พบในประเทศจีนแสดงว่า แผ่นดินจีนอาจเป็นแหล่งกำเนิดเผ่าพันธุ์ของมนุษยชาติ มีการพบซากหิน (Fossil) มนุษย์วานรยุคแรกที่เรียกว่า รามปิเทคุล ที่ยูนาน มนุษย์หยวนโม่ว มนุษย์หลั่นเทียน และมนุษย์ปักกิ่ง ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดี อายุราว 5 แสนปี และพบโครงกระดูกของมนุษย์ในยุคหินใหม่

13 อารยธรรมจีนสมัยก่อนประวัติศาสตร์
เครื่องไม้ เครื่องมือและอาวุธ มนุษย์ยุคหินใหม่ ยุคหินใหม่ ชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในที่ราบลุ่มแม่น้ำฮวงเหอได้สร้างสรรค์ วัฒนธรรม หยางเซา และอีกชุมชนหนึ่งอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำทางตะวันออกเฉียงเหนือลงมาตามชายฝั่งทะเลจนถึงแม่น้ำแยงซี ได้สร้างสรรค์วัฒนธรรมที่เรียกว่า วัฒนธรรมหลงซาน กำหนดอายุได้ประมาณ 5,000 ปี ถึง 1,700 ปีก่อนคริสต์ศักราช

14 อารยธรรมจีนสมัยก่อนประวัติศาสตร์
ลักษณะสำคัญของวัฒนธรรม หยางเซา ( Yang Shao Culture ) คือ เครื่องปั้นดินเผาเป็นลายเขียนสีจำนวนมากที่มีความงดงามและมีความปราณีตในการตกแต่ง ลายที่เขียนมักเป็นลายเรขาคณิต พืช นก สัตว์ต่างๆ และภาพใบหน้ามนุษย์ สีที่ใช้เป็นสีดำหรือสีม่วงเข้ม นอกจากนี้ยังมีการพิมพ์ลายหรือขูดสลักลายเป็นรูปลายจักสาน ลายเชือกทาบ วัฒนธรรมนี้ได้สืบทอดต่อเนื่องมาจนถึงสมัยสำริดและสมัยประวัติศาสตร์

15 อารยธรรมจีนสมัยก่อนประวัติศาสตร์
ลักษณะสำคัญของวัฒนธรรม หลงซาน ( Lung Shan Culture ) คือ เครื่องปั้นดินเผามีเนื้อละเอียดสีดำขัดมันเงา คุณภาพดีเนื้อบางและแกร่ง แสดงว่ามีการใช้แป้นหมุน และมีวิธีการเผาภาชนะดินเผาที่ก้าวหน้ากว่าวัฒนธรรม หยางเซา รูปแบบของภาชนะเป็นภาชนะ ดินเผาที่สำคัญ คือ ภาชนะ 3 ขา ซึ่งยังคงสืบทอดต่อมาในยุคสำริด

16 อารยธรรมจีน สมัยประวัติศาสตร์
จัดทำโดย. นางสาววิทิตา สุขทั่วญาติ

17 พัฒนาการทางการเมืองการปกครอง
เริ่มตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิ๋น จนถึงปลายราชวงศ์ชิงหรือเช็ง เริ่มตั้งแต่ สมัยราชวงศ์ชาง สิ้นสุดสมัยราชวงศ์โจว 1.สมัยโบราณ 2.สมัยจักรวรรดิ ประวัติศาสตร์จีน เริ่มตั้งแต่จีนปฏิวัติ เปลี่ยนแปลง การปกครองเข้าสู่ระบอบสังคมนิยมหรือคอมมิวนิสต์จนถึงปัจจุบัน 4.ร่วมสมัย 3.สมัยใหม่ เริ่มปลายราชวงศ์เช็ง จนถึงการปฏิวัติเข้าสู่ ระบอบสังคมนิยม

18 ราชวงศ์ซาง (Shang) มณฑลซานตง ซากกระดูกกระดองเต่า

19 ราชวงศ์โจวตะวันตก มณฑลส่านซี 2. สมัยฟิวดัล เขตแดนราชวงศ์โจว
อาณัติแห่งสวรรค์

20 จักรพรรดิองค์เดียวแห่งราชวงศ์จิ๋น
สมัยจักรวรรณดิจีน ราชวงศ์จิ่นหรือฉิน เขตแดนราชวงศ์ฉิน กำแพงเมืองจีน จิ๋นซีฮ่องเต้ จักรพรรดิองค์เดียวแห่งราชวงศ์จิ๋น

21 สมัยจักรวรรดิจีน ราชวงศ์ฮั่น เขตแดนของราชวงศ์ฮั่น
สมเด็จพระจักรพรรดิฮั่นเกาจู ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ฮั่น เขตแดนของราชวงศ์ฮั่น

22 ราชวงศ์สุย ภาพวาดเล่าปี่ เขตแดนราชวงศ์สุย ซุนกวน โจโฉ ยุคสามก๊ก

23 ราชวงศ์ถัง เขตแดนราชวงศ์ถัง จักรพรรดิถังเกาจู่ สมเด็จพระจักรพรรดิ
ถังไท่จง(唐太宗) เขตแดนราชวงศ์ถัง จักรพรรดิถังเกาจู่

24 สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งไท่จู่ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ซ้อง
เขตแดนราชวงศ์ซ้อง

25 ราชวงศ์หงวน กุบไล ข่าน เขตแดนราชวงศ์หงวน เครื่องปั้นดินเผา
สมัยราชวงศ์หงวน กุบไล ข่าน มาร์โก โปโล เขตแดนราชวงศ์หงวน

26 หรือจักรพรรดิจูหยวนจาง
ราชวงศ์หมิง จักรพรรดิหงหวู่ หรือจักรพรรดิจูหยวนจาง สมเด็จพระจักรพรรดิหย่งเล่อ พระราชวังต้องห้าม เขตแดนราชวงศ์หมิง

27 ราชวงศ์ชิง จักรพรรดิคังซี จักรพรรดิหย่งเจิ้น จักรพรรดิเฉียนหลง
เขตแดนราชวงศ์ชิง จักรพรรดิคังซี จักรพรรดิหย่งเจิ้น จักรพรรดิเฉียนหลง พระนางซูสีไทเฮา

28 ยุคสาธารณรัฐและยุคคอมมิวนีสต์
ดร. ซุน ยัตเซ็น พรรคก๊กมินตั๋ง

29 แนวคิดที่เป็นอุดมการณ์
สมัยสาธารณรัฐจีน แนวคิดที่เป็นอุดมการณ์ ดร. ซุน ยัตเซน หลักเอกราชแห่งชาติ หลักอำนาจอธิปไตยของประชาชน หลักความยุติธรรมในการครองชีพ

30 เบญจาธิปไตย(Five Principles)
สมัยสาธารณรัฐจีน เบญจาธิปไตย(Five Principles) ฝ่ายบริหาร ฝ่าย นิติบัญญัติ ฝ่ายตุลาการ ฝ่ายสอบแข่งขัน ฝ่ายตรวจตราควบคุม

31 เจียง ไคเชก ในชุดนายทหาร
ยุคสาธารณรัฐและยุคคอมมิวนีสต์ เจียง ไคเชก ในชุดนายทหาร

32 ยุคสาธารณรัฐและยุคคอมมิวนีสต์
ธงชาติจีน เติ้ง เสี่ยวผิง ตราแผ่นดิน เหมา เจ๋อตง

33 มรดกทางวัฒนธรรมของจีน
จัดทำโดย. นางสาววิทิตา สุขทั่วญาติ

34 สังคมและวัฒนธรรมจีน จัดทำโดย. นางสาววิทิตา สุขทั่วญาติ

35 หลักแห่งสัมพันธ์ภาพ 5 ประการ
ระบบครอบครัวในจีน หลักแห่งสัมพันธ์ภาพ 5 ประการ จักรพรรดิกับราษฎร บิดากับบุตร พี่ชายกับน้องชาย สามีกับภรรยา เพื่อนกับเพื่อน

36 ขงจื้อจะเน้นสอนเรื่อง
ลัทธิขงจื้อ หลักแห่งสัมพันธภาพ 5 ประการ พิธีกรรม ประวัติศาสตร์ วรรณคดี ตำรา การพยากรณ์ การบันทึกเหตุการณ์ต่างๆ ขงจื้อจะเน้นสอนเรื่อง

37 ลัทธิเต๋า สัญลักษณ์ หยิน-หยาง เหลาจื้อ

38 ลัทธิฟาเฉีย พัฒนาการเป็นกฏหมายของจีน หานเฟยจื่อ
ลัทธิฟาเฉีย มีความเชื่อว่า โดยธรรมชาติของมนุษย์เป็นคนเลว มีกิเลสตัณหา จึงต้องมีวิธีการลงโทษผู้กระทำผิดและให้รางวัลแก่ผู้ทำความดี พัฒนาการเป็นกฏหมายของจีน หานเฟยจื่อ

39 พระพุทธศาสนาในจีน วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์

40 พัฒนาการ ทางเศรษฐกิจ จัดทำโดย. นางสาววิทิตา สุขทั่วญาติ

41 เครื่องมือการเพาะปลูก
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ข้าวฟ่าง ลูกเดือย เครื่องมือการเพาะปลูก ทำด้วยกระดูกหรือไม้

42 สมัยศักดินา ระบบที่ดิน

43 สมัยศักดินา ระบบบ่อนา

44 สมัยศักดินา ระบบภาษี

45 เส้นทางสายไหม การค้า

46 พัฒนาการทาง ศิลปกรรมของจีน
จัดทำโดย. นางสาววิทิตา สุขทั่วญาติ

47 พัฒนาการทางศิลปกรรมของจีน

48 เครื่องปั้นดินเผาและเครื่องเคลือบ
เครื่องปั้นดินเผาลายเขียนสีวัฒนธรรมหยางเซา เครื่องปั้นดินเผาสีดำขัดมันเงา วัฒนธรรมหลงซาน

49 ลายคราม ในสมัยราชวงศ์หยวน
ลายคราม ในสมัยราชวงศ์หยวน ลายครามเกร็ดเต่า ลายครามนกไก่ฟ้า ลายครามดอกไม้

50 เครื่องเบญจรงค์

51 เครื่องสำริด ลายหงษ์ ลายมังกร ลายก้อนเมฆ ลายหน้าสัตว์ ลายตาเหยี่ยว

52 เครื่องหยก

53 ประติมากรรม รถม้าและม้าศึกที่ขุดค้นพบภายในสุสาน
ปิงหมาหย่ง อภิมหาประติมากรรม

54 สถาปัตยกรรม VDO : กำแพงเมืองจีน

55 สุสานของจักรพรรดิราชวงศ์หมิงและชิง
สถาปัตยกรรม สุสานของจักรพรรดิราชวงศ์หมิงและชิง สุสานจิ๋นซีฮ่องเต้

56 จิตรกรรม ภาพเขียนจีนโบราณ การใช้สีฟ้าในภาพจิตรกรรมฝาผนัง

57 จิตกรรมของจีน ภาพผลงานส่วนหนึ่งของจิตรกรเอกกู้ข่ายจือ ที่สะท้อนสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของชาวจีน ภาพเขียนสีของจีนตามแนวทางพระพุทธศาสนา

58 วรรณกรรม ไซอิ๋ว (อังกฤษ: Journey to the West; จีน: 西遊記)เป็นนิยายคลาสสิคของจีน แต่งขึ้นประมาณปี ค.ศ ช่วงราชวงศ์หมิง ประพันธ์โดย อู๋เฉิงเอิน ไซอิ๋วเป็นเรื่องของการเดินทางไปยังชมพูทวีป (อินเดีย) เพื่ออัญเชิญคัมภีร์พระพุทธศาสนาของหลวงจีนชื่อ พระถังซำจั๋ง โดยมีสัตว์ 3 ตัวเป็นเพื่อนร่วมทาง คือ เห้งเจีย (ลิง) ตือโป๊ยก่าย (หมู) และซัวเจ๋ง (ปีศาจปลา)

59 วรรณกรรม เล่าปี่ สามก๊ก (อังกฤษ: Romance of the Three Kingdoms; จีน: 三國演義)เป็นนิยายจีนอิงประวัติศาสตร์ เป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง จัดเป็นวรรณกรรมเพชรน้ำเอกของโลก เป็นมรดกทางปัญญาของปราชญ์ชาวตะวันออกที่สุดยอด โจโฉ ซุนกวน จอมคนในสามก๊ก

60 วรรณกรรม ความฝันในหอแดง (อังกฤษ: Dream of the Red Chamber; จีน: 紅樓夢)แต่งโดยเฉาเสี่ยฉิ้น ประมาณปีพ.ศ แต่เขาเสียชีวิตก่อนแต่งจบ มีนักประพันธ์มากมายแต่งเรื่องต่อให้จบ ฉบับที่ได้รับการยอมรับคือฉบับของเกาเออ เป็นเรื่องความรักของหนุ่มสาวในตระกูลเจี้ย ซึ่งเป็นตระกูลชั้นสูงในสมัยราชวงศ์ชิง

61 วรรณกรรม ซ้องกั๋ง ซ้องกั๋งนั้น จัดอยู่ในสี่สุดยอดวรรณกรรมของร่วมกับ สามก๊ก ไซอิ๋ว และความฝันในหอแดง เป็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นในสมัยราชวงศ์ซ่งในช่วงรัชสมัยของพระเจ้าซ่งฮุยจงฮ่องเต้ ช่วงนี้ฮ่องเต้อ่อนแอ และขุนนางกังฉินที่มีอิทธิพลมากจนถึงขั้นฮ่องเต้ต้องเกรงใจนั้น ชื่อ เกาฉิว ตัวละครทั้ง 108 คนนั้นมีประวัติความเป็นมาแทบจะเหมือนกันหมด คือ ถูกขุนนางกลั่นแกล้ง กดขี่ข่มเหง เป็นต้น ทำให้ตนต้องระดมตัวกัน ณ เขาเหลียงซาน เพื่อปราบปรามขุนนางชั่ว

62 ความเจริญก้าวหน้า ทางวิทยาการของจีน
จัดทำโดย. นางสาววิทิตา สุขทั่วญาติ

63 ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการของจีน

64 ตัวอักษรจีน ตัวอักษรจีนเป็นระบบตัวอักษรที่เก่าแก่และมีคนใช้มากที่สุดในโลกระบบหนึ่ง จากหลักฐานข้อมูลเท่าที่ขุดค้นพบได้ในปัจจุบันยืนยันว่า ตัวอักษรจีนมีประวัติความเป็นมาไม่ต่ำกว่า 3,000 ปี นับจากตัวอักษรเจี่ยกู่หรือตัวอักษรซึ่งสลักบนกระดองเต่าในสมัยราชวงศ์ซาง ตัวอักษรเจี่ยกู่เป็นอักษรภาพเลียน(เซี่ยงสิงจื้อ) ทั้งยังเป็นตัวอักษรที่แสดงเสียงด้วย ทุกวันนี้ก็ยังมีการใช้ตัวอักษรภาพเลียนจำนวนหนึ่งซึ่งแลดูพริ้วไหวเสมือนจริงในระบบตัวอักษรจีน

65 กระดาษจีน กระดาษ วัฒนธรรมและงานของมนุษย์เจริญขึ้น มีผลมาจากการพิมพ์ก้าวหน้า การพิมพ์ต้องใช้กระดาษ ดังนั้นการผลิตและการใช้กระดาษจึงมีประโยชน์ต่อวัฒนธรรมมนุษย์มาก ชาวจีนจึงภูมิใจมากที่ตนเป็นผู้ค้นพบวิธีทำกระดาษ แต่เดิมนั้น ชาวจีนหนังสือลงบนแผ่นไม้ไผ่ ต่อมาในสมัยราชวงศ์ฉินและฮั่น ผู้คนเริ่มพากันมีความเห็นว่าการเขียนบนแผ่นไม้นั้นไม่สะดวก ผู้คนจึงเปลี่ยนมาเขียนลงบนผ้าไหมแทน แต่ว่าผ้าไหมแพงมาก ต่อมาสมัยฮั่นตะวันออก ไช่หลุน ค้นพบวิธีนำเปลือกไม้ เศษผ้า มาทำกระดาษ จักรพรรดิฮั่นเหอตี้ทรงโปรดมาก ผู้คนทั่วโลกได้ใช้กระดาษของเขา เราจึงเรียกชื่อกระดาษนี้ว่า กระดาษไช่หลุน

66 การพิมพ์ของจีน การพิมพ์ ด้านเทคนิคการพิมพ์ จีนได้รับยกย่องว่าเป็นผู้คิดค้น แต่เดิมตำราของจีนต้องคัดลอกด้วยลายมือ ต่อมา มหาอุปราชเฝิงเต้าสั่งให้ราชวิทยาลัยกว่อจื่อเจี้ยนจัดพิมพ์คัมภีร์ 9 เล่ม นับเป็นการพิมพ์หนังสือจำนวนมากเป็นครั้งแรกของรัฐบาล พอเริ่มมีการพิมพ์จากรัฐบาล ทางเอกชนและบรรดาร้านหนังสือต่างก็พิมพ์หนังสือของตนเองออกมาบ้าง ตำราต่างๆ จึงเผยแพร่ออกไปได้มากและกว้างขวางกว่าเดิม และเป็นการเรียงพิมพ์ ทำให้สามารถผลิตหนังสือได้เร็วและมากกว่าเดิมหลายเท่า เครื่องพิมพ์แบบเรียงพิมพ์ที่ปี้เซิงประดิษฐ์ขึ้น ใช้แผ่นดินเหนียวเผาแกะเป็นตัวพิมพ์ ต่างจากปัจจุบันตรงที่ปัจจุบันเป็นตะกั่วเท่านั้น เครื่องพิมพ์ของ โยฮัน กูเตนเบิร์ก ที่ประดิษฐ์ได้เมื่อปี ค.ศ นั้น ช้ากว่าของจีนถึง 400 ปีเศษทีเดียว การพิมพ์ ศตวรรษที่ 7 มีการพบข้อความเกี่ยวกับศาสนาพุทธบนแท่นพิมพ์ไม้ ประมาณศตวรรษที่10 มีการพิมพ์หนังสือประเภทวรรณคดี สมัยซ้องนี้มีการเรียงพิมพ์ตัวอักษรอยู่ทั่วไป และยังมีการเข้าเล่มหนังสืออีกด้วย

67 การแพทย์ การฝังเข็ม

68 ความรู้ทางวิศวกรรมโลหะ
ในสมัยราชวงศ์ซาง เมื่อ 3000 ปีก่อน ประชาชนจีนได้รู้จักเทคนิคถลุงสำริดและรู้จักใช้เหล็ก ในสมัยชุนชิว ได้ปรากฏเทคนิคการถลุงเหล็กกล้า มาถึงสมัยจ้านกั๋ว คู่ขนานไปกับการพัฒนาเกษตรกรรม การทดน้ำเข้ามาก็มี ขนาดค่อนข้างใหญ่ สิ่งก่อสร้างชลประทานตูเจียงแย่นที่เลื่องลือชื่อในโลกก็สร้างขึ้นในสมัยนี้เอง  สนามการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก รังนกของจีน

69 การต่อเรือ การเดินเรือของเจิ้งเหอ

70 ดินปืน ประทัด ดอกไม้ไฟ
ดินปืน ประทัด ดอกไม้ไฟ ไฟ (Firework) นับเป็นศาสตร์เก่าแก่ที่ถูกค้นพบโดยชาวจีนอย่างบังเอิญเมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อน เล่าขานกันว่าขณะที่นักเล่นแร่แปรธาตุชาวจีนกำลังค้นหาสูตรยาอายุวัฒนะเพื่อนำไปถวายแก่จักรพรรดิ จากคุณสมบัติของกำมะถันที่ใช้รักษาโรคผิวหนัง และดินประสิวซึ่งใช้รักษาโรคปอดได้ จึงมีการคิดว่าหากนำสารทั้ง 2 ตัว มาผสมกันจะได้โอสถขนานใหม่ แต่เมื่อผสมกันแล้วกลับเกิดเป็นแผ่นแป้งสีดำ และลุกเป็นไฟขึ้นเมื่อเกิดการเผาไหม้ จึงมีการตั้งชื่อสารที่เกิดขึ้นใหม่ว่า "อัคคีโอสถ" หรือที่รู้จักกันในชื่อของ "ดินดำ" หรือ "ดินปืน" นั่นเอง

71 ดาราศาสตร์และปฎิทิน ประเทศจีนนับเป็นประเทศแรกของโลกที่มีการคำนวณหาระยะพิกัดดวงดาวจากเส้นศูนย์สูตร เนื่องจากแนวคิดทางดาราศาสตร์ของจีนนับแต่โบราณกาล มีพื้นฐานมาจากการศึกษาการเคลื่อนตำแหน่งของดวงดาว อาทิตย์และจันทร์ ในขณะที่ประเทศทางแถบตะวันตกในสมัยโบราณจะใช้ระบบวงโคจรของจักรราศีของ 12 ราศี ซึ่งจากการศึกษาทางดาราศาสตร์ในปัจจุบันพิสูจน์ว่า ระบบทั้งสองมีความแตกต่างกัน โดยระบบแรกให้ผลดีกว่าระบบหลัง ปัจจุบันวงการดาราศาสตร์หันมาใช้ระบบการหาพิกัดจากเส้นศูนย์สูตร

72 แผนที่ที่เก่าแก่ของจีน
ประมาณ  ค.ศ. 801 ชาวจีนโบราณได้คิดแผนที่ขึ้นใช้  แผนที่ที่เก่าแก่ที่สุดของจีนเป็นแผนที่ซึ่งแกะสลักด้วยหิน แสดงให้เห็น กำแพงเมืองจีนตัดข้ามแม่น้ำเหลือง

73 คณิตศาสตร์และการคำนวน
ลูกคิดมีชื่อเรียกว่า ซว่านผาน เป็นสิ่งประดิษฐ์ของจีนเมื่อกว่า 700 ปีก่อน ถือกันว่าลูกคิดเป็นสิ่งประดิษฐ์ชิ้นที่ 5 ของจีน เรียงลงมาจากกระดาษ การพิมพ์ หนังสือ เข็มทิศ และดินระเบิด ลูกคิดมีวิวัฒนาการมาจากกระดานไม้สำหรับนับเบี้ยโบราณเมื่อกว่า 2,000 ปีก่อน เรียกว่า จูซว่าน เริ่มต้นมีเพียงแต่การบวกและลบเท่านั้น ต่อมาปลายยุคถังจึงพัฒนามาเป็นการคูณและการหาร เมื่อแพร่หลายมากๆ ก็มีคนคิดสูตรออกมาให้ท่อง คงคล้ายกับการท่องสูตรคูณ กระดานคิดเลขพัฒนาต่อไปเรื่อยๆ พร้อมกับธุรกิจการค้าการขาย ลูกคิดจีนโบราณ

74 เครื่องมือวัดแผ่นดินไหว
จีนยังเป็นชาติแรกของโลกที่ประดิษฐ์เครื่องมือวัดแผ่นดินไหว ผู้คิดค้นจางเหิง (ค.ศ ) นักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อในสมัยฮั่นตะวันออก จางเหิงได้สร้างเครื่องมือแผ่นดินไหวใน ค.ศ. 132 ซึ่งใช้วัดทิศทางแผ่นดินไหวในเมืองลั่วหยาง นอกจากนี้เขายังสร้างเครื่องมือวัดตำแหน่งดวงดาวเป็นเครื่องแรกๆ ของโลกด้วย

75 เข็มทิศของจีน การประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ที่มีคุณค่าที่สุดและเก่าแก่ที่สุดสิ่งหนึ่งของจีน คือ เข็มแม่เหล็ก สมัยแรกคนจีนใช้เข็ม  แม่เหล็กไปติดไว้บนรถ สร้างรถชี้ทิศ เพื่อใช้ในการสงครามหรือใช้เป็นเครื่องมือหาทิศทางเวลาอยู่ในป่าลึกหรือภูเขา  จากหลักฐานที่บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ชาวจีนรู้จักใช้เข็มทิศหน้าปัดกลมเพื่อเดินเรือเมื่อศตวรรษที่ 12 เข็มทิศ ในยุคจ้านกั๋ว

76 ฮวนจุ้ย เฟิงสุ่ยหรือฮวงจุ้ยเป็นวัฒนธรรมที่มีต้นกำเนิดในประเทศจีน ฮวงจุ้ยเป็นศาสตร์ใหญ่และลึกซึ้ง มีความเป็นมายาวนานและถือเป็นเนื้อหาส่วนสำคัญที่ประกอบขึ้นเป็นวัฒนธรรมเร้นลับของจีนโบราณ ฮวงจุ้ยเป็นวิชาว่าด้วยการคัดเลือกสิ่งมงคลและหลีกเลี่ยงสิ่งอัปมงคลที่แพร่หลายจนกลายเป็นปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรมที่มีเฉพาะในประเทศจีน ฮวงจุ้ยเป็นศาสตร์และศิลป์ที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างคนกับสิ่งแวดล้อม แนวทางพื้นฐานของฮวงจุ้ยจะเน้นไปที่ความสัมพันธ์ของคนกับสิ่งปลูกสร้างและคนกับธรรมชาติ รวมเรียกว่า "ความสัมพันธ์ระหว่างฟ้ากับคน" แนวทางนี้สอดคล้องกับความเชื่อเรื่องจักรวาลและทัศนะด้านความงามที่ "ฟ้าและคนหลอมรวมเป็นหนึ่ง" ในอารยธรรมเก่าแก่หลายพันปีของจีน

77 การแพร่ขยายและการถ่ายทอดวัฒนธรรมจีน
ภูมิภาคเอเชีย เอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียกลางและตะวันออกกลาง คลิกที่นี่ เพื่อศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม

78 ผู้ผลิตสื่อ นางสาววิทิตา สุขทั่วญาติ ครูชำนาญการ
นางสาววิทิตา สุขทั่วญาติ ครูชำนาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนร้องกวางอนุสรณ์ จ. แพร่ เว็บไซต์โรงเรียน :

79 สวัสดีค่ะ


ดาวน์โหลด ppt บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google