งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร นิพจน์และตัวดำเนินการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร นิพจน์และตัวดำเนินการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร นิพจน์และตัวดำเนินการ
รายวิชา ง30201 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 3

2 ชนิดข้อมูล Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit ชนิดข้อมูล
Primitive Integer Floating Point Character Logical Data Reference คลาสต่างๆ Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit

3 ชนิดข้อมูลพื้นฐาน (Primitive Data Types)
ที่ ประเภท ชนิดข้อมูล ขนาด  (bit) ช่วงค่าข้อมูล 1 จำนวนเต็ม byte 8 signed มีค่าอยู่ระหว่าง -128 ถึง 127 short 16 signed มีค่าอยู่ระหว่าง -32,768 ถึง 32,767 int 32 signed มีค่าอยู่ระหว่าง -2,147,483,648 (-231) ถึง 2,147,483,647 (231-1) long 64 signed มีค่าอยู่ระหว่าง -9,223,372,036,854,775,808 (-263) ถึง 9,223,372,036,854,775,807 (263-1) 2 จำนวนทศนิยม float มีค่าอยู่ระหว่าง e-45 ถึง e+38 double มีค่าอยู่ระหว่าง e-324 ถึง e+308 3 อักขระ char Unicode มีค่าอยู่ระหว่าง 0 ถึง 65,535 4 ตรรกะ boolean มีค่าเท่ากับ true หรือ false Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit

4 ชนิดข้อมูลจำนวนเต็ม (Integer)
การประกาศตัวแปรและกำหนดค่าเริ่มต้น คำอธิบาย long x1 = L; ประกาศตัวแปรชนิด long ชื่อ x1 มีค่าข้อมูลเท่ากับแสนล้าน (100,000,000,000) การประกาศตัวแปร long ต้องต่อท้ายข้อมูลด้วยตัวอักษร L หรือ l เสมอ int x2 = ; ประกาศตัวแปรชนิด int ชื่อ x2 มีค่าข้อมูลเท่ากับพันล้าน short x3 = 32767; ประกาศตัวแปรชนิด short ชื่อ x3 โดยกำหนดค่าเริ่มต้นเป็นเลขฐานสิบ มีค่าข้อมูลเท่ากับ 32,767 short x4 = 0X7FFF; ประกาศตัวแปรชนิด short ชื่อ x4 โดยกำหนดค่าเริ่มต้นเป็นเลขฐานสิบหก มีค่าข้อมูลเท่ากับ 32,767 byte x5 = 127; ประกาศตัวแปรชนิด byte ชื่อ x5 โดยกำหนดค่าเริ่มต้นเป็นเลขฐานสิบ มีค่าข้อมูลเท่ากับ 127 byte x6 = 0177; ประกาศตัวแปรชนิด byte ชื่อ x6 โดยกำหนดค่าเริ่มต้นเป็นเลขฐานแปด มีค่าข้อมูลเท่ากับ 127 Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit

5 ชนิดข้อมูลจำนวนทศนิยม (Floating Point)
การประกาศตัวแปรและกำหนดค่าเริ่มต้น คำอธิบาย float f1 = f; ประกาศตัวแปรชนิด float ชื่อ f1 เก็บข้อมูลตัวเลขทศนิยมขนาด 32 บิต และต้องใส่ตัวอักษร F หรือ f ต่อท้ายเพื่อระบุว่าเป็นชนิดข้อมูลแบบ float double f2 = 2.18E6; double f3 = D; ประกาศตัวแปรชนิด double ชื่อ f2, f3 เก็บข้อมูลเป็นเลขทศนิยมแบบ 64 บิต โดยใส่ตัวอักษร D หรือ d ต่อท้าย แต่โดยทั่วไปจะไม่นิยมใส่ตัวอักษรต่อท้าย เพราะการเขียนตัวเลขทศนิยมทั่วไปเป็นชนิดข้อมูลแบบ double อยู่แล้ว Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit

6 ชนิดข้อมูลอักขระ (Character)
char grade1 = ‘A’; char grade2 = ‘\u0041’; System.out.println('\u0041'); จะแสดงผลลัพธ์อย่างไร? ตัวอักขระพิเศษ รหัส Unicode ความหมาย \b \u000B Backspace คือ ลบอักขระตำแหน่งเคอร์เซอร์ \t \u0009 Tab คือ การเว้นช่องว่างตามระยะ \n \u000A New Line คือ การขึ้นบรรทัดใหม่ \r \u000D Return คือ การขึ้นบรรทัดใหม่ \\ \u005C Backslash คือ แสดงตัวอักขระ  \ \‘ \u0027 Single Quote คือ แสดงตัวอักขระ ‘ \“ \u0022 Double Quote คือ แสดงตัวอักขระ “ Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit

7 ชนิดข้อมูลตรรกะ (Logical Data)
boolean flag = false; boolean status = true; Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit

8 ค่าโดยปริยาย(Default values)
ตัวแปรประเภท Instance variable และ Class variable กำหนดค่าโดยปริยายหรือค่า default ขึ้นมาเป็นค่าเริ่มต้นให้อัตโนมัติ ตัวแปรประเภท Local variable ไม่มีการกำหนดค่า default ชนิดข้อมูล Default Value byte short int long 0L float 0.0f double 0.0d char '\u0000' String(or any object) null boolean false Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit

9 [modifier] dataType VariableName;
ตัวแปร ชื่อที่กำหนดขึ้นเพื่อการอ้างอิงตำแหน่งหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูล ซึ่งสามารถเก็บข้อมูลที่มีชนิดข้อมูลแตกต่างกัน [modifier] dataType VariableName; int x; float data1, data2, sum; int x, y, z = 10; double a = 1.5, b = 10; static int count = 0; private float score; Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit

10 [modifier] final dataType VariableName = value;
ตัวแปร ค่าคงที่ (Constant หรือ Final instance variable) คือ ตัวแปรที่มีค่าคงที่ตลอดการทำงานจนจบโปรแกรม โดยจะถูกกำหนดค่าข้อมูลได้เพียงครั้งเดียว ซึ่งเมื่อกำหนดแล้วจะไม่สามารถแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงค่าได้อีก [modifier] final dataType VariableName = value; final int MAX = 100; public static final double PI = ; Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit

11 ประเภทของตัวแปร Instance Variable Class Variable Local Variable
ตัวแปรของแต่ละออบเจ็กต์ ไม่มีคีย์เวิร์ด static Class Variable คือ ตัวแปรของคลาส ใส่คีย์เวิร์ด static ใช้งานตัวแปรได้โดยไม่ต้องสร้างออบเจ็กต์ของคลาสขึ้นมาด้วยคำสั่ง new Local Variable ตัวแปรที่ประกาศอยู่ในส่วนของเมธอด ซึ่งจะถูกเรียกใช้งานได้เฉพาะภายในเมธอดนั้นๆ Parameter ตัวแปรที่กำหนดขึ้นมาเพื่อรองรับค่าที่จะส่งมาให้กับเมธอด Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit

12 การตั้งชื่อ Identifier ในภาษาจาวา
ชื่อที่เป็นตัวอักษรพิมพ์เล็กและพิมพ์ใหญ่มีความแตกต่างกัน หรืออาจกล่าวว่าชื่อในภาษาจาวาเป็น case-sensitive ชื่อจะต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ หรือ _ หรือ $ เท่านั้น ชื่อจะต้องประกอบด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ หรือตัวเลข หรือ underscore (_) หรือ dollar sign ($) เท่านั้น และห้ามมีช่องว่าง ห้ามตั้งชื่อซ้ำกับคีย์เวิร์ดหรือคำสงวน Score001 myFloat Sum_of_Average MAX 4Computer float Sum-of-Average Total MAX Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit

13 นิพจน์ (Expression) a / b * c
รูปแบบการเขียนคำสั่งระหว่างตัวดำเนินการ (Operator) และตัวถูกกระทำ (Operand) เช่น 2 + 3 a / b * c Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit

14 ตัวดำเนินการกำหนดค่า (Assignment Operators)
int x = 20; x = ; Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit

15 ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operators)
ได้แก่ เครื่องหมาย +, -, *, / และ % ผลลัพธ์จากการคำนวณจะถูกแปลงให้เป็นชนิดข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ที่สุดตามลำดับ ดังนี้ double, float, long, int, char, short, byte 20 / 3.0 มีค่าเท่ากับ 20 / 3 มีค่าเท่ากับ 6 Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit

16 ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operators)
Compound Assignment ตัวดำเนินการ ตัวอย่าง ความหมาย += x += 2; x = x + 2; -= x -= 2; x = x - 2; *= x *= 2; x = x * 2; /= x /= 2; x = x / 2; %= x %= 2; x = x % 2; Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit

17 ตัวดำเนินการเพิ่มค่าและลดค่า
++ และ -- x มีความหมายเดียวกันกับ x = x + 1 หรือ x += 1 ++x มีความหมายเดียวกันกับ x = x + 1 หรือ x += 1 x มีความหมายเดียวกันกับ x = x - 1 หรือ x -= 1 --x มีความหมายเดียวกันกับ x = x - 1 หรือ x -= 1 Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit

18 ตัวดำเนินการเพิ่มค่าและลดค่า
++ และ -- วางอยู่หลังตัวแปร หมายถึง การเพิ่มหรือลดค่าทีหลัง x = 10; y = x++; กำหนดค่าให้กับ y ก่อน แล้วจึงเพิ่มค่าของตัวแปร x ทีหลัง นั่นคือ y = x; x++; เมื่อทำงานเสร็จสิ้น X มีค่าเท่ากับ 11 Y มีค่าเท่ากับ 10 Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit

19 ตัวดำเนินการเพิ่มค่าและลดค่า
++ และ -- วางอยู่หน้าตัวแปร หมายถึง การเพิ่มหรือลดค่าก่อนเป็นลำดับแรก x = 10; y = ++x; เพิ่มค่าของตัวแปร x ก่อน แล้วจึงกำหนดค่าให้กับ y ทีหลัง นั่นคือ x++; y = x; เมื่อทำงานเสร็จสิ้น X มีค่าเท่ากับ 11 Y มีค่าเท่ากับ 11 Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit

20 ตัวดำเนินการเปรียบเทียบความสัมพันธ์
ความหมาย ตัวอย่าง == เท่ากับ a == b != ไม่เท่ากับ a != b มากกว่า a > b >= มากกว่าหรือเท่ากับ a >= b น้อยกว่า a < b <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ a <= b Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit

21 ตัวดำเนินการทางตรรกะ (Logical Operators)
ความหมาย ตัวอย่าง ! NOT (นิเสธ) !(a < b) && AND (และ) (a > 0)&&(a < 10) || OR (หรือ) (a > 0)||(a > 50) ถ้ากำหนดให้ a = 10; b = 20; !(a < b) (a > 0)&&(a < 10) (a > 0)||(a > 50) Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit

22 ลำดับการทำงานของตัวดำเนินการ
ลำดับที่ เครื่องหมาย ลำดับการทำงาน 1 ( )  - 2 ++ , -- , ! ขวาไปซ้าย 3 * ,  / ,  % ซ้ายไปขวา 4 + ,  - 5 < ,  <= ,  > ,  >= 6 == ,  != 7 && 8 || 9 = , +=, -=, *=, /=, %= Mahidol Wittayanusorn School L. Ngamprasit


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร นิพจน์และตัวดำเนินการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google