งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
แผนที่กลยุทธ์จังหวัดตาก สิ่งที่ส่งมาด้วย 4 วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน” 1.การพัฒนาคุณภาพชีวิต ประชาชน และแก้ไขปัญหา ความยากจน 2.การจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3.การพัฒนาผลิตภาพ ทางการเกษตร 4.การส่งเสริมการท่องเที่ยว สินค้า OTOP และ การค้าชายแดน 5.การรักษาความมั่นคง ชายแดน และความสงบ เรียบร้อย 6.การบริหารจัดการที่ดี ยุทธศาสตร์ 1.ระบบการบริหารจัดการ ที่มีประสิทธิภาพ 2.ประชาชนที่ยากจน/ ด้อยโอกาสมีความ อยู่ดีกินดีมีความสุข 3.ผลผลิตการเกษตร ท่องเที่ยว สินค้า OTOP การค้าชายแดน มีมูลค่าเพิ่มขึ้น 4.ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมได้รับการดูแล รักษาอย่างยั่งยืน 5.ประชาชนอยู่รวมกัน อย่างสงบสุขและ มีความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน ประสิทธิผล 6.มีโครงสร้างพื้นฐาน เอื้ออำนวยต่อการพัฒนา เศรษฐกิจตามศักยภาพ ของจังหวัด 7.ระบบบริหารงานภาครัฐ มีประสิทธิภาพ 8.สร้างรายได้จากการท่องเที่ยว และเด็ก เยาวชนได้รับการส่งเสริม การออกกำลังกายการเล่นกีฬา 10.การได้รับการบริการ จากราชการอย่างทั่วถึง 11.ประชาชนมีมูลค่า การจำหน่ายผลผลิต ทางการเกษตรเพิ่มขึ้น 12.ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมมีความ อุดมสมบูรณ์ 13.ปัญหาอาชญากรรม ผู้กระทำผิดลดลง 9.ประชาชนมีความมั่นคง ในชีวิตและทรัพย์สิน คุณภาพ การให้บริการ 14.มีโครงสร้างพื้นฐานเอื้อต่อ การพัฒนาเศรษฐกิจ 15.ประชาชนมีส่วนร่วม ในระบบราชการ 16.เด็กและเยาวชน มีส่วนร่วมในการส่งเสริม การท่องเที่ยวและ ออกกำลังกาย 17.ประชาชนมีมูลค่า การจำหน่าย สินค้า OTOP 18.มูลค่าการค้า ชายแดนเพิ่มขึ้น ประสิทธิภาพ การปฏิบัติ ราชการ 19.รักษามาตรฐานและ ระยะเวลาการให้บริการ ประชาชน 20.ลดขั้นตอน การปฏิบัติราชการ 21.จัดหน่วยบริการหรือ ศูนย์บริการ่วม 22.การปฏิบัติราชการ ที่มีความโปร่งใส 23.การจัดการความรู้ บุคลากร 24.การบริหารจัดการ ระบบฐานข้อมูลและ สารสนเทศ 25.การถ่ายทอดตัวชี้วัดและ เป้าหมายของระดับองค์กร สู่ระดับบุคคล การพัฒนา องค์การ

2 แผนยุทธศาสตร์สำนักงานจังหวัดตาก
แบบฟอร์ม แผนยุทธศาสตร์สำนักงานจังหวัดตาก 6.การบริหารจัดการที่ดี 6.ส่งเสริมการบริหารจัดการที่ดี ประเด็นยุทธศาสตร์กรม.สป.มท... ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดตาก วิสัยทัศน์สำนักงานจังหวัด “เป็นศูนย์กลางการบริหารงานราชการจังหวัด” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

3 Strategy Map สำนักงานจังหวัดตาก
แบบฟอร์ม Strategy Map สำนักงานจังหวัดตาก ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 1. การบริหารงานภาครัฐมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลตามพันธกิจ 2.เพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการทุกภาคส่วน การให้บริการ คุณภาพ 3. การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ 4.ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน การปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพ 5. การพัฒนาศักยภาพของบุคลากร 6.การพัฒนาศักยภาพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พัฒนาองค์การ

4 สำนักงานจังหวัดตาก แบบฟอร์ม เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด กลุ่ม/ฝ่าย
ผู้รับผิดชอบ เจ้าหน้าที่ 1. การบริหารงานภาครัฐมีประสิทธิภาพ 1.1 ระดับความสำเร็จของการบริหารจัดการแบบบูรณาการในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค 1.2 ระดับความสำเร็จในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด 1.3 ระดับความสำเร็จในการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร 1.4 ระดับความสำเร็จในการจัดทำแผนพัฒนาระบบ IT - ฝ่ายอำนวยการ - กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ - กลุ่มทรัพยากรบุคคล - กลุ่มข้อมูลฯ - ขุนพล/ณัฐพงษ์ ประยงค์/จาตุรงณ์/ ดาริกา/เบญญาภา/พิสิษฐ์ - โสพิศ/นุชลดา - วิบูลย์/ธำรงค์/อโนทัย/ มานะ 2. เพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการทุกภาคส่วน 2.1 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย 2.2 ระดับความสำเร็จของการเข้าถึงของประชาชนในระบบสาระสนเทศ ( 2.3 การจัดทำคู่มือบัตรพิทักษ์เสรีชน/บัตรชายแดน ฝ่ายอำนวยการ กลุ่มข้อมูลฯ ณัฐพงษ์/วรางคณา/เมทินี/ศุภวรรณ - ณัฐพงษ์/วรางคณา 3. การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ 4. การพัฒนาศักยภาพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3.1 ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบพัฒนาจังหวัด 3.2 ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน 3.3 ระดับความสำเร็จของมาตรการประหยัดพลังงาน 3.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำฐานข้อมูลด้านทรัพยากรบุคคล - ฝ่ายอำนวยการ/กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตรวจสอบฯ กลุ่มทรัพยากรบุคคล ณัฐพงษ์/พิมพร/ประยงค์/จาตุรงณ์/ ดาริกา จารุวรรณ/ณภัทร/เก่งกล้า ณัฐพงษ์/วัลลภา/ปวีณา - โสพิศ/นุชลดา

5 สำนักงานจังหวัดตาก แบบฟอร์ม เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด กลุ่ม/ฝ่าย
ผู้รับผิดชอบ เจ้าหน้าที่ 5. การพัฒนาศักยภาพของบุคลากร 6. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 4. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) - กลุ่มทรัพยากรบุคคล - โสพิศ/นุชลดา

6 โครงสร้างของสำนักงานจังหวัด
แบบฟอร์ม โครงสร้างของสำนักงานจังหวัด กลุ่มงาน (Job Families)ของสำนักงานจังหวัดตาก มีจำนวน 3 กลุ่มงาน 1 ฝ่าย 1 งาน ผู้ว่าราชการจังหวัดตาก งานตรวจสอบภายใน นักวิชาการตรวจสอบภายในชำนาญการ (1) หัวหน้าสำนักงานจังหวัดตาก นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ (1) กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศ และการสื่อสารฯ กลุ่มงานยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด กลุ่มบริหาร ทรัพยากรบุคคล ฝ่ายอำนวยการ นักจัดการงานทั่วไป ชำนาญการ (2) นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ (1) นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ (1) นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการพิเศษ (1) นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ (1) นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ (1) นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ (2) นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ (1) นิติกรปฏิบัติการ (1) นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ (1) เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีชำนาญงาน (1) นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ (2) พนักงานราชการ (2) เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน (1) นายช่างไฟฟ้าชำนาญงาน (1) ลูกจ้างประจำ (1) เจ้าพนักงานธุรการ ชำนาญงาน (1) เจ้าพนักงานธุรการ ปฏิบัติงาน (1) ลูกจ้างประจำ (9)

7 Strategy Map สำนักงานจังหวัดตาก
แบบฟอร์ม Strategy Map สำนักงานจังหวัดตาก 1. การบริหารงานภาครัฐมีประสิทธิภาพ 1.1. ระดับความสำเร็จของการบริหารจัดการแบบบูรณาการในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค 1.4 ระดับความสำเร็จในการจัดทำแผนพัฒนาระบบ IT ประสิทธิผลตามพันธกิจ 1.2 ระดับความสำเร็จในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด 1.3 ระดับความสำเร็จในการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร 2.เพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการทุกภาคส่วน 2.1 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย 2.3 การจัดทำคู่มือบัตรพิทักษ์เสรีชน/บัตรชายแดน 2.2 ระดับความสำเร็จของการเข้าถึงของประชาชนในระบบสารสนเทศ การให้บริการ คุณภาพ 3. การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ 4.การพัฒนาศักยภาพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพ 3.2 ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน ระดับความสำเร็จของการจัดทำฐานข้อมูลด้านทรัพยากรบุคคล 3.1ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบพัฒนาจังหวัด 3.3 ระดับความสำเร็จของมาตรการประหยัดพลังงาน 5. การพัฒนาศักยภาพของบุคลากร 6.ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน พัฒนาองค์การ 4. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)

8 วิสัยทัศน์จังหวัด “บ้านเมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
แผนที่กลยุทธ์จังหวัดตาก วิสัยทัศน์จังหวัด “บ้านเมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน” 1.การพัฒนาคุณภาพชีวิต ประชาชน และแก้ไขปัญหา ความยากจน 2.การจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3.การพัฒนาผลิตภาพ ทางการเกษตร 4.การส่งเสริมการท่องเที่ยว สินค้า OTOP และ การค้าชายแดน 5.การรักษาความมั่นคง ชายแดน และความสงบ เรียบร้อย 6.การบริหารจัดการที่ดี ยุทธศาสตร์ 1.ระบบการบริหารจัดการ ที่มีประสิทธิภาพ 2.ประชาชนที่ยากจน/ ด้อยโอกาสมีความ อยู่ดีกินดีมีความสุข 3.ผลผลิตการเกษตร ท่องเที่ยว สินค้า OTOP การค้าชายแดน มีมูลค่าเพิ่มขึ้น 4.ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมได้รับการดูแล รักษาอย่างยั่งยืน 5.ประชาชนอยู่รวมกัน อย่างสงบสุขและ มีความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน ประสิทธิผล 6.มีโครงสร้างพื้นฐาน เอื้ออำนวยต่อการพัฒนา เศรษฐกิจตามศักยภาพ ของจังหวัด 7.ระบบบริหารงานภาครัฐ มีประสิทธิภาพ 8.สร้างรายได้จากการท่องเที่ยว และเด็ก เยาวชนได้รับการส่งเสริม การออกกำลังกายการเล่นกีฬา 10.การได้รับการบริการ จากราชการอย่างทั่วถึง 11.ประชาชนมีมูลค่า การจำหน่ายผลผลิต ทางการเกษตรเพิ่มขึ้น 12.ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมมีความ อุดมสมบูรณ์ 13.ปัญหาอาชญากรรม ผู้กระทำผิดลดลง 9.ประชาชนมีความมั่นคง ในชีวิตและทรัพย์สิน คุณภาพ การให้บริการ 14.มีโครงสร้างพื้นฐานเอื้อต่อ การพัฒนาเศรษฐกิจ 15.ประชาชนมีส่วนร่วม ในระบบราชการ 16.เด็กและเยาวชน มีส่วนร่วมในการส่งเสริม การท่องเที่ยวและ ออกกำลังกาย 17.ประชาชนมีมูลค่า การจำหน่าย สินค้า OTOP 18.มูลค่าการค้า ชายแดนเพิ่มขึ้น ประสิทธิภาพ การปฏิบัติ ราชการ 19.รักษามาตรฐานและ ระยะเวลาการให้บริการ ประชาชน 20.ลดขั้นตอน การปฏิบัติราชการ 21.จัดหน่วยบริการหรือ ศูนย์บริการ่วม 22.การปฏิบัติราชการ ที่มีความโปร่งใส 23.การจัดการความรู้ บุคลากร 24.การบริหารจัดการ ระบบฐานข้อมูลและ สารสนเทศ 25.การถ่ายทอดตัวชี้วัดและ เป้าหมายของระดับองค์กร สู่ระดับบุคคล การพัฒนา องค์การ

9 พัฒนาระบบบริหารและสร้างระบวนการแก้ปัญหาความยากจน
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน และแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาระบบบริหารและสร้างระบวนการแก้ปัญหาความยากจน ส่งเสริมสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานแก่คนจน/ครัวเรือน ส่งเสริมสนับสนุนดำเนินงานตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แหล่งทุนสนับสนุนการประกอบอาชีพ จัดหาแหล่งที่อยู่อาศัยแก่คนจนแบบเอื้ออาทร ระดับกระทรวง ระดับกลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด ระดับท้องถิ่น

10 แผนที่กลยุทธ์จังหวัดตาก
วิสัยทัศน์จังหวัด “บ้านเมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน” ประเด็นยุทธศาสตร์การบริหารจัดการที่ดี ความพึงใจของประชาชนที่ได้รับบริการจากภาครัฐ หน่วยงานภาครัฐมีความโปร่งใสในการปฏิบัติงาน มีโครงสร้างและระบบบริหารงาน ที่ทันสมัย ใช้งบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลสัมฤทธิ์ ประชาชนได้รับข้อมูล ข่าวสารและการบริการของทางราชการรวดเร็วมากขึ้น มีส่วนร่วมของประชาชน และทุกภาคส่วน ประสิทธิผล ใช้งบประมาณแบบ มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ พัฒนาศักยภาพในการทำงานเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง เป็นศูนย์อำนวยความสะดวก ความยุติธรรม และการช่วยเหลือ อย่างเป็นธรรมและเสมอภาค มีระบบมาตรฐานในการควบคุม การใช้งบประมาณ คุณภาพ มีระบบข้อมูลสารสนเทศ และนวัตกรรมในการทำงาน โดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ พัฒนาระบบการจัดทำ แผนยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัด พัฒนาระบบการติดตาม และประเมินผล การบริหารงบประมาณ ด้วยระบบ GFMIS ส่งเสริมและพัฒนา บุคลากร การปรับปรุงงาน ประสิทธิภาพ การกำกับ ติดตาม การตรวจสอบภายในและควบคุมภายใน เพื่อสร้างมูลค่า การบริหารแบบ มีส่วนร่วม การจัดตั้งศูนย์บริการข้อมูลสาร สนเทศ และเทคโนโลยีการสื่อสาร การจัดการความรู้ บุคลากร การบริหารการเงิน และการคลัง การบริหารภาครัฐแนวใหม่ พัฒนาองค์กร การพัฒนาการมีส่วนร่วม ของประชาชน พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีการสื่อสาร

11 การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรภาครัฐ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 : การบริหารจัดการที่ดี การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรภาครัฐ การปรับปรุงสภาพแวดล้อมและกระบวนการในการทำงาน การบริหารจัดการและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณ พัฒนาระบบศูนย์บริการข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีการสื่อสาร พัฒนาระบบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัด การบริหารแบบมีส่วนร่วม ระดับกระทรวง - ให้การสนับสนุนทางด้านนโยบายหลักวิชาการ เทคนิควิธีการในการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรภาครัฐ - ให้การสนับสนุนด้านบุคลากรและงบประมาณให้หน่วยงานราชการสังกัดส่วนภูมิภาค - ให้การสนับสนุนทางวิชาการ เทคนิคกระบวน การทำงาน เครื่องมือ อุปกรณ์ ในการปฏิบัติงาน ให้การสนับสนุนทางด้านนโยบายหลักวิชาการ เทคนิควิธีการ ในการบริหารจัดการและเพิ่มประสิทธิ ภาพในการใช้จ่ายงบประมาณ ให้การสนับสนุนทางด้านนโยบายหลักวิชาการ เทคนิควิธีการในการพัฒนาระบบศูนย์บริการข้อมูลสารสนเทศฯ - ให้การสนับสนุนด้านเครื่องมืออุปกรณ์ บุคลากรและงบประมาณให้หน่วยงานราชการสังกัดส่วนภูมิภาค ให้การสนับสนุนทางด้านนโยบายหลักวิชาการ เทคนิควิธีการ ในการพัฒนาและจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัด ให้การสนับสนุนทางด้านนโยบายหลักวิชาการ เทคนิควิธีการ ระดับกลุ่มจังหวัด สนับสนุนส่งเสริม และ เชื่อมโยงด้านบุคลากรและงบประมาณในการพัฒนาบุคลากร - สนับสนุน ส่งเสริม และเชื่อมโยงด้านกระบวนการทำงาน เทคนิควิธีการ - สนับสนุน ส่งเสริม และเชื่อมโยงด้านการบริหารจัดการและเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้จ่ายงบประมาณ - สนับสนุน ส่งเสริม และเชื่อมโยงด้านข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีการสื่อสาร - สนับสนุน ส่งเสริม และเชื่อมโยงด้านแผนยุทธศาสตร์แผนพัฒนาจังหวัด กลุ่มจังหวัด - สนับสนุน ส่งเสริม และเชื่อมโยงด้านการบริหารแบบมีส่วนร่วมให้ครอบคลุมหน่วยงานทุกพื้นที่ในจังหวัดกลุ่มจังหวัด

12 การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรภาครัฐ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 : การบริหารจัดการที่ดี การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรภาครัฐ การปรับปรุงสภาพแวดล้อมและกระบวนการในการทำงาน การบริหารจัดการและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณ พัฒนาระบบศูนย์บริการข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีการสื่อสาร พัฒนาระบบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัด การบริหารแบบมีส่วนร่วม ระดับจังหวัด เพิ่มศักยภาพด้านข้อมูลพื้นฐานของบุคลากรภาครัฐ พัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมบุคลากรภาครัฐ เพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการความ รู้ให้บุคลากรภาครัฐ กำกับ ติดตามผลการดำเนินงานของบุคลากรภาครัฐ เป็นศูนย์อำนวยความสะดวกความยุติธรรมและการช่วยเหลืออย่างเป็นธรรมและเสมอภาค เพิ่มศักยภาพภาวะผู้นำของหัวหน้าหน่วยงานเพื่อการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงกระบวน การทำงานและลดขั้นตอนการปฏิบัติ งาน เสริมสร้างทักษะในการบริหารงานสมัยใหม่ ปรับปรุงอาคารสถานที่และสภาพ แวดล้อมในการทำงาน เพิ่มศักยภาพและเสริมสร้างองค์ความรู้ในการบริหารและจัดทำงบประมาณ เพิ่มศักยภาพและเสริมสร้างทักษะเกี่ยวกับระบบ GFMIS เพิ่มศักยภาพและเสริมสร้างทักษะแนวทางการกำกับ ติดตาม การตรวจ สอบภายในและควบคุมภายในเพื่อสร้างมูลค่า เพิ่มศักยภาพด้านข้อมูลพื้นฐานของระบบสารสนเทศและการสื่อสาร พัฒนาระบบฐานข้อมูล POC พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้าน IT ภาครัฐ พัฒนาระบบ และเชื่อมโยงข้อมูลจังหวัด กลุ่มจังหวัด เพิ่มศักยภาพและสร้างกระบวนการจัดทำแผน / การวางแผน ยุทธศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพ เชื่อมโยงงบประมาณและแผนยุทธศาสตร์ให้ครอบคลุมทุกระดับทั้งในส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น กำกับ ติดตามตรวจสอบ และควบคุมการบริหารแผนงาน/ โครงการอย่างมีผลสัมฤทธิ์ สร้างองค์กรบริหารภาครัฐ เอกชน และประชาชน พัฒนาจัดการความรู้และถ่าย ทอดการบริหารยุทธศาสตร์แบบมีส่วนร่วม สร้างเวทีแสดงความคิดเห็นการบริหารและการพัฒนาจังหวัด ภายใต้แผนพัฒนาจังหวัด อำเภอ ระดับท้องถิ่น ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรภาครัฐในระดับท้องถิ่น ส่งเสริมแนวทางบริหารการจัดการความรู้บุคลากรภาครัฐในระดับท้องถิ่น ส่งเสริมทักษะการบริหารงานสมัยใหม่ให้กับหน่วยงานท้องถิ่น ส่งเสริมแนว ทาง การปฏิบัติงานตามหลักธรรมาธิบาลให้กับหน่วยงานท้องถิ่น - ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการบริหารและจัดทำงบประมาณ - ส่งเสริมทักษะและแนวทางการ กำกับ ติดตาม การตรวจสอบภายในและควบคุมภายใน เพื่อสร้างมูลค่า ส่งเสริมและพัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้าน IT ให้กับหน่วยงานท้องถิ่น ส่งเสริมและพัฒนา ทักษะแนวทางการจัดทำแผนงานโครงการ ส่งเสริมและ บูรณาการความสอดคล้องในการจัดทำแผนให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ ส่งเสริมการบริหารยุทธศาสตร์แบบมีส่วนร่วม สร้างเวทีแสดงความคิดเห็นในการบริหารระดับท้องถิ่น

13 แผนที่กลยุทธ์จังหวัดตาก
วิสัยทัศน์จังหวัด “บ้านเมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน” ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 : การพัฒนาคุณภาพชีวิต และแก้ไขปัญหาความยากจน ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ปราศจากปัญหาความยากจน จำนวนคนจนตามกลุ่มเป้าหมาย ที่ลดลง มีคุณภาพชีวิต และครอบครัวที่ดี ประสิทธิผล คนยากจนมีรายได้ที่เพิ่มสูงขึ้น ยกระดับฐานะครัวเรือนยากจนอย่างทั่วถึง สร้างโอกาสและเพิ่ม ช่องทางการสร้างรายได้ คุณภาพ มีความรู้และสุขภาพ อนามัยที่ดี ลดปัญหาภาระหนี้สินระดับครัวเรือน มีที่อยู่อาศัยแบบเอื้ออาทร จัดหาแหล่งที่อยู่อาศัย แก่คนจนแบบเอื้ออาทร ส่งเสริม และสนับสนุนดำเนินการตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาระบบบริหาร และ สร้างกระบวนการแก้ปัญหา ความยากจน ส่งเสริม และสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานแก่คนจน / ครัวเรือน ประสิทธิภาพ แหล่งทุนสนับสนุน การประกอบอาชีพ พัฒนาความรู้ / จัดการด้านบุคลากร พัฒนาระบบข้อมูล คนยากจน / ครัวเรือน ศึกษา / วิจัย กระบวนการ แก้ปัญหาความยากจน พัฒนาองค์กร

14 พัฒนาระบบบริหารและสร้างกระบวน การแก้ไขปัญหาความยากจน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การพัฒนาคุณภาพชีวิต และแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาระบบบริหารและสร้างกระบวน การแก้ไขปัญหาความยากจน ส่งเสริมและสนับสนุนปัจจัย พื้นฐานแก่คนจน/ครัวเรือน ส่งเสริมและสนับสนุนดำเนิน งานตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จัดหาแหล่งทุนสนับสนุนการประกอบอาชีพ จัดหาแหล่งที่อยู่อาศัยแก่คนจนแบบเอื้ออาทร ระดับกระทรวง ให้การสนับสนุนทางด้านนโยบายหลักวิชาการ เทคนิควิธีการในการส่งเสริมการแก้ไขปัญหาความยากจน ให้การสนับสนุนด้านงบประมาณและปัจจัยพื้นฐาน เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน ให้การสนับสนุนด้านวิชาการเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาความยากจน ให้การสนับสนุนด้านอาชีพและเพิ่มช่องทางการตลาด ให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ หลักวิชาการ เพิ่มแหล่งเรียนรู้ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนการเรียนรู้ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสร้างความยั่งยืน ให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ หลักวิชาการและทักษะอาชีพ อย่างยั่งยืน ให้การสนับสนุนด้านนโยบายการมีงานทำและสร้างรายได้ อย่างยั่งยืน ให้การสนับสนุนด้านนโยบายการส่งเสริมและสนับสนุนกองทุนหมู่บ้าน/ธนาคารชุมชน ให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ หลักวิชาการ และนโยบาย ด้านที่อยู่อาศัยเอื้ออาทร ระดับกลุ่มจังหวัด เชื่อมโยงข้อมูล/แผนงาน/โครงการ/มาตรการ เพื่อการแก้ไขปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน เชื่อมโยงและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานตามความจำเป็นที่ได้รับจากภาครัฐ เชื่อมโยงและพัฒนาอาชีพเพื่อให้เกิดความยั่งยืนและช่องทางการตลาด เชื่อมโยงและพัฒนาการเรียนรู้ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสร้างความยั่งยืน เชื่อมโยงและพัฒนาอาชีพและสร้างรายได้ อย่างยั่งยืน เชื่อมโยงข้อมูลและสำรวจความต้องการด้านที่อยู่อาศัยของครัวเรือนยากจนอย่างบูรณาการ

15 พัฒนาระบบบริหารและสร้างกระบวน การแก้ไขปัญหาความยากจน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การพัฒนาคุณภาพชีวิต และแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาระบบบริหารและสร้างกระบวน การแก้ไขปัญหาความยากจน ส่งเสริมและสนับสนุนปัจจัย พื้นฐานแก่คนจน/ครัวเรือน ส่งเสริมและสนับสนุนดำเนิน งานตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จัดหาแหล่งทุนสนับสนุนการประกอบอาชีพ จัดหาแหล่งที่อยู่อาศัยแก่คนจนแบบเอื้ออาทร ระดับจังหวัด กำหนดนโยบายและแนวทางการแก้ไขปัญหาความยากจนของจังหวัด กำหนดแผนงาน/โครงการ/มาตรการ การแก้ไขปัญหาความยากจนให้รอบด้านและครอบคลุมทุกพื้นที่ในจังหวัด พัฒนาแนวทางและแผนการดำเนินงานเพื่อยกระดับการแก้ไขปัญหาความยากจน กำกับ ควบคุม และติดตามการดำเนินงานตามแผน ศึกษาสำรวจ รวบรวม และวิเคราะห์ปัญหาความยากจนให้รอบด้านและครอบคลุมทุกพื้นที่ในจังหวัด ส่งเสริม สนับสนุนปัจจัยพื้นฐานจากทุกภาคส่วน เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน ส่งเสริม สนับสนุนปัจจัยโครงสร้างพื้นฐานทางการเกษตรแก่คนยากจน ส่งเสริม สนับสนุนปัจจัยโครงสร้างการให้ บริการพื้นฐานแก่คนยากจน สร้างโอกาสทางอาชีพและเพิ่มช่องทางการตลาด พัฒนาและจัดการความรู้ในวิถีการดำรงชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมและต่อยอดทางความคิดตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้เกิดความยั่งยืน สร้างโอกาสและเพิ่มแหล่งเรียนรู้ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริม สนับสนุนการเรียนรู้ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสร้างความยั่งยืน ศึกษาสำรวจ รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลรายรับ-รายจ่าย คนจน/ครัวเรือน ส่งเสริม สนับสนุนความรู้และทักษะอาชีพ อย่างยั่งยืน ส่งเสริม สนับสนุนการมีงานทำและสร้างรายได้ อย่างยั่งยืน ส่งเสริมและสนับสนุนกองทุนหมู่บ้าน/ธนาคารชุมชน ศึกษา สำรวจ ความต้องการด้านที่อยู่อาศัยของครัวเรือนยากจน จัดหาพื้นที่และสร้างที่อยู่อาศัยแบบเอื้ออาทร ระดับท้องถิ่น เชื่อมโยงแผนงาน/โครงการ/มาตรการ การแก้ไขปัญหาความยากจน ดำเนินการตามแผนเพื่อยกระดับการแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานตามความจำเป็นที่ได้รับจากภาครัฐ พัฒนาอาชีพเพื่อให้เกิดความยั่งยืนและหาช่องทางการตลาด อนุรักษ์วิถีการดำรงชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้เกิดความยั่งยืน พัฒนาการเรียนรู้ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสร้างความยั่งยืน พัฒนาอาชีพและสร้างรายได้ อย่างยั่งยืน พัฒนากองทุนหมู่บ้าน/ธนาคารชุมชนให้เกิดความยั่งยืน สำรวจความต้องการด้านที่อยู่อาศัยของครัวเรือนยากจน

16 แผนที่กลยุทธ์จังหวัดตาก
วิสัยทัศน์จังหวัด “บ้านเมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน” ประเด็นยุทธศาสตร์ 4 : การส่งเสริมการท่องเที่ยวสินค้า OTOP และการค้าชายแดน รายได้ GPP ที่เพิ่มขึ้น ผู้ประกอบการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทั้งในประเทศและต่างประเทศ ประสิทธิผล ประชาชนมีรายได้ที่เพิ่มขึ้น และพัฒนาเศรษฐกิจให้เติบโตทันต่อสถานการณ์ สินค้าและบริการเป็นที่ต้องการของผู้บริโภค จำนวนผู้ว่างงาน ที่ลดลง การท่องเที่ยวและ สินค้าOTOP ที่มีคุณภาพและมาตรฐานรับรอง ผู้ประกอบการ SME ได้รับการสนับสนุนการลงทุน และการผลิต ผลผลิตภาคเศรษฐกิจให้ สามารถพัฒนาไปสู่การแข่งขันและได้มาตรฐานสากล แหล่งผลิตอาหารปลอดภัยจากสารพิษและได้มาตรฐานสากล คุณภาพ ระบบโครงสร้างพื้นฐาน ที่มีมาตรฐาน เพื่อสนับสนุนการขนส่งสินค้าและบริการ พัฒนาจัดการความรู้ ทักษะภาคการผลิตสินค้า และบริการ เปิดโอกาส สร้างอาชีพ และเพิ่มช่องทางการตลาดเพื่อการแข่งขัน ประสิทธิภาพ พัฒนา อนุรักษ์ ฟื้นฟู และบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเพื่อความยั่งยืน เพิ่มขีดความสามารถ และ สนับสนุนเทคโนโลยีการบริหารการผลิต และบริการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และระบบLogistics ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงรุกและเพิ่มช่องทางสื่อสารทางการตลาด การบริหารจัดการความรู้ ให้กับบุคลากรเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว พัฒนาสินค้า OTOP และการค้าชายแดน พัฒนาองค์กร พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร และเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว สินค้า OTOP และการค้าชายแดน ศึกษา / วิจัย เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวของจังหวัด พัฒนาระบบเทคโนโลยี การบริหารจัดการจังหวัด

17 พัฒนาจัดการความรู้ทักษะภาคการผลิตสินค้าและบริการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : การส่งเสริมการท่องเที่ยวสินค้า OTOP และการค้าชายแดน พัฒนาจัดการความรู้ทักษะภาคการผลิตสินค้าและบริการ เพิ่มขีดความ สามารถและสนับ สนุนเทคโนโลยีการบริหารการผลิตและบริการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบLogistics เปิดโอกาส สร้างอาชีพและเพิ่มช่องทางการตลาดเพื่อการแข่งขัน ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงรุกและเพิ่มช่องทางสื่อสารทางการตลาด ระดับจังหวัด กำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวของจังหวัด กำหนดแผนงาน/โครงการ/มาตรการ การพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวของจังหวัด พัฒนาแนวทางและแผนการดำเนินงานเพื่อยกระดับเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทั้งในและต่างประเทศ แผนบริหารความรู้การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อการเปลี่ยนแปลงของจังหวัด กำหนดทิศทาง หลักสูตร การพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว กำกับ ควบคุม และติดตามการดำเนินงานตามแผน ศึกษา หารูปแบบ และกระบวนการบริหารด้านการผลิตและบริการ เพิ่มสมรรถนะของผู้นำการบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารจัดการความรู้ให้กับบุคลากรเพื่อกาส่งเสริมการท่องเที่ยว สินค้า OTOP และการค้าชายแดน พัฒนาระบบและให้การสนับสนุนเทคโนโลยีการบริหารจัดการของจังหวัด พัฒนา อนุรักษ์ฟื้นฟูและบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเพื่อความยั่งยืน พัฒนาการจัดการความรู้และข้อมูลข่าวสารด้าน Logistics ระบบโครงสร้างพื้นฐานที่มีมาตรฐาน เพื่อสนับสนุนการขนส่งสินค้าและบริการ พัฒนาผลผลิตภาคเศรษฐกิจให้สามารถพัฒนาไปสู่การแข่งขันและได้มาตรฐานสากล พัฒนาแหล่งผลิตอาหารปลอดภัยจากสารพิษและได้มาตรฐานสากล พัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกการให้บริการและสินค้า ส่งเสริมการท่องเที่ยวและสินค้า OTOP ที่มีคุณภาพและมาตรฐานรับรอง สนับสนุนผู้ประกอบ การ SME ในด้านการลงทุน และการผลิตอย่างครบวงจร พัฒนาผู้ประกอบการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทั้งในประเทศและต่างประเทศ พัฒนาสินค้าและบริการให้เป็นที่ต้องการของผู้บริโภค พัฒนาและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน กำหนดแผนการพัฒนาตลาดเพื่อสนับสนุนสินค้าและบริการ ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงรุกและเพิ่มช่องทางสื่อสารทางการตลาด พัฒนาข้อมูลข่าวสารและเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว สินค้า OTOP และการค้าชายแดน ประชาชนมีรายได้ที่เพิ่มขึ้นและพัฒนาเศรษฐกิจให้เติบโตทันต่อสถานการณ์ ระดับท้องถิ่น

18 พัฒนาจัดการความรู้ทักษะภาคการผลิตสินค้าและบริการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : การส่งเสริมการท่องเที่ยวสินค้า OTOP และการค้าชายแดน พัฒนาจัดการความรู้ทักษะภาคการผลิตสินค้าและบริการ เพิ่มขีดความ สามารถและสนับ สนุนเทคโนโลยีการบริหารการผลิตและบริการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบLogistics เปิดโอกาส สร้างอาชีพและเพิ่มช่องทางการตลาดเพื่อการแข่งขัน ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงรุกและเพิ่มช่องทางสื่อสารทางการตลาด ระดับกระทรวง ระดับกลุ่มจังหวัด เชื่อมโยงพัฒนาระบบบริหารและจัดการการท่องเที่ยว เชื่อมโยงกลไกในการบริหารและกำกับดูแลการพัฒนาการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจ กำหนดนโยบายและจัดทำแผนแม่บทการท่องเที่ยวและพัฒนาเศรษฐกิจ ส่งเสริม กำกับ ดูแล การดำเนินงานให้เป็นไปตามแผน เชื่อมโยง ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรด้านสินค้าและบริการ - เชื่อมโยงพัฒนาและกำกับดูแล ระบบป้องกันและรักษาความปลอดภัย เชื่อมโยงพัฒนาและปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว เชื่อมโยงพัฒนาระบบสารสนเทศพื้นฐาน เชื่อมโยงพัฒนากิจกรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว เชื่อมโยงอนุรักษ์ ฟื้นฟู และบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เชื่อมโยงพัฒนาคุณภาพ และระบบการจัดจำหน่ายสินค้าที่ระลึกและสินค้าท้องถิ่น เชื่อมโยงพัฒนาและปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค เชื่อมโยงพัฒนาความพร้อมและมาจรฐานสถานบริการและสินค้า เชื่อมโยงและกำหนดมาตรฐานและหลักสูตรการพัฒนาบุคลากรภาคสินค้าและบริการ สร้างเอกลักษณ์และตราสินค้าคุณภาพ เชื่อมโยงส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน สร้างภาพลักษณ์ด้านการท่องเที่ยว เชื่อมโยง ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวและสินค้า บริการ อย่างต่อเนื่อง

19 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การพัฒนาผลิตภาพทางการเกษตร
พัฒนาจัดการความรู้ทักษะภาคการผลิต แปรรูปเพิ่มและสร้างมูลค่ามาตรฐานสินค้า พัฒนาเกษตรกรและ สถาบันเกษตรกร พัฒนาทรัพยากรและ โครงสร้างพื้นฐาน เพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการ ระดับกระทรวง ถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เหมาะสม ส่งเสริมพันธุ์ดี ผลิตและขยายพันธุ์ดี การวางแผนการผลิต ยกระดับคุณภาพสินค้า การแปรรูป สร้างมูลค่าเพิ่ม การผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัย การจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา คาร์บอนเครดิต ส่งเสริมและพัฒนาสถาบันเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชน ส่งเสริมการเรียนรู้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง เสริมสร้างการมีส่วนร่วม ส่งเสริมและสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ การอนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนาทรัพยากรดิน น้ำ อาทิการส่งเสริมปุ๋ยอินทรีย์ปุ๋ยชีวภาพ หญ้าแฝก การปฏิรูปที่ดิน การพัฒนาแหล่งน้ำระบบชลประทาน และการบริหารจัดการน้ำ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตร -การเชื่อมโยงการผลิตและการตลาด -ระบบฐานข้อมูล -การประชาสัมพันธ์ -ความร่วมมือระหว่างประเทศ -พัฒนาบุคลากร -พัฒนาระบบ Logistic -การช่วยเหลือเกษตรกร ระดับกลุ่มจังหวัด และจังหวัด ศูนย์/แหล่งพันธุ์ของชุมชน/ท้องถิ่น พัฒนาสินค้าที่มีศักยภาพ -การผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัย,มีคุณภาพ -ตรา (Brand) -สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ -การแปรรูป -การสร้างมูลค่าเพิ่ม การพัฒนาแหล่งน้ำ การส่งเสริมใช้ปุ๋ยชีวภาพ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตร ท่องเที่ยวเกษตร การเชื่อมโยงการผลิตและการตลาด ระบบฐานข้อมูล การประชาสัมพันธ์ พัฒนาบุคลากร การช่วยเหลือเกษตรกร ระดับท้องถิ่น การใช้ปุ๋ยชีวภาพ

20 การอนุรักษ์และฟื้นฟู
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พัฒนาจัดการความรู้ และการมีส่วนร่วม การอนุรักษ์และฟื้นฟู ระดับกระทรวง ให้การสนับสนุนทางด้านนโยบาย หลักวิชาการ เทคนิค วิธีการ กำหนดแผนจัดการทรัพยากรน้ำในแต่ละลุ่มน้ำ ระดับกลุ่มจังหวัด และจังหวัด สร้างจิตสำนึกต่อชุมชน สนับสนุนการรักษาและดูแลป่าชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน การกำจัดขยะอย่างถูกวิธี การกำหนดพื้นที่ป่าใช้สอย ป่าอนุรักษ์ การกำหนดเขตป่าชุมชน การปลูกป่าทดแทน สนับสนุนพันธ์ไม้ การจัดการแหล่งน้ำ ระดับท้องถิ่น สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการดูแลป่าโดยองค์ความรู้ของท้องถิ่น การดูแลป่าชุมชน

21 พัฒนาระบบบริหารจัดการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 : การรักษาความมั่นคงชายแดน และความสงบเรียบร้อย พัฒนาระบบบริหารจัดการ การมีส่วนร่วม ระดับกระทรวง จัดระบบป้องกันและจัดระเบียบพื้นที่ชายแดน สนับสนุนให้ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังพื้นที่ชายแดน ระดับกลุ่มจังหวัด และจังหวัด จัดทำทะเบียนแรงงานต่างด้าวที่เข้ามาทำงาน สร้างแหล่งข่าว จัดตั้งหมู่บ้านยามชายแดน จัดตั้งชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน(ชรบ.) ระดับท้องถิ่น


ดาวน์โหลด ppt วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google