งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

presented by Chadamas Thuvasethakul NECTEC Thailand

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "presented by Chadamas Thuvasethakul NECTEC Thailand"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 presented by Chadamas Thuvasethakul NECTEC Thailand
The Use of ICT Indicators for Monitoring ICT Development:  Thailand Experiences presented by Chadamas Thuvasethakul NECTEC Thailand ความเป็นมา 1. สถิติ/ข้อมูลด้าน ICT ของประเทศไทย มีการจัดเก็บอย่างกระจัดกระจายตามหน่วยงานต่างๆ (ตามภาระหน้าที่และความเกี่ยวข้องของหน่วยงานนั้นๆ เช่น ด้านการค้า ด้านการใช้ ICT ในครัวเรือน ด้านการศึกษา เป็นต้น) ซึ่งบางครั้งก็อาจไม่เป็นที่รับรู้ของบุคคล/หน่วยงานอื่นๆ และข้อมูลที่แต่ละบุคคล/หน่วยงานมีอยู่เป็นลักษณะแยกส่วน (piecemeal) 2. สถิติ/ข้อมูลที่มีการจัดเก็บอย่างเป็นระบบและมีความต่อเนื่อง จะช่วยให้เรา (ประเทศ) รู้ถึงสถานภาพ ณ ปัจจุบันของการพัฒนาด้าน ICT แบบองค์รวม (holistic) และมองเห็นการเปลี่ยนแปลงด้านสถานภาพ ICT ตามกาลเวลา กล่าวคือ เห็นพลวัตรของการพัฒนาด้าน ICT ของประเทศแผนแม่บท ICT ของประเทศไทย ระบุชัดเจนว่าจะต้องมีการประเมินความสำเร็จของแผนในภาพรวม และรายยุทธศาสตร์ และเครื่องมือสำคัญในการประเมินก็คือตัวชี้วัด/ข้อมูล/สถิติ ข้อมูลด้าน ICT มักจะถูกใช้ในการจัดทำดัชนีชี้วัดระดับสากล เพื่อการเปรียบเทียบ/จัดอันดับระดับประเทศ (benchmarking) อาทิGrowth Competitiveness Index (GCI) ซึ่งใช้วัดความสามารถของเศรษฐกิจของประเทศ ว่ามีความสามารถในการบรรลุการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนทั้งในระยะกลางและระยะยาวอย่างไร ซึ่งดัชนีนี้ ประกอบด้วย สาม ดัชนีย่อย คือ the technology index, the ,public institutions index, และ the macroeconomic environment โดย ICT เป็นส่วนประกอบหนึ่งใน Technology index

2 Why do we need ICT indicators?
The need to have information/indeces to monitor the progress of ICT Master Plan implementation The need to have indeces that are conformed to international standards to compare and benchmark with others (such as GCI, NRI, DAI etc.) The need to unify ICT indicators which have been scatterred so that they can be used in policy decision making on a continual basis (Prime Minister’s initiative on the Operation Center – PMOC, MOC, DOC) GCI = Global Competitiveness Index (World Economic Forum) NRI = Network Readiness Index (World Economic Forum) DAI = Digital Access Index (International Telecommunication Union) • Network Readiness Index (NRI) วัดระดับความพร้อมของประเทศที่จะเข้าร่วมและเอาประโยชน์จากพัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (the degree of preparation of a nation or community to participate in and benefit from ICT developments) • Digital Access Index (DAI) วัดความสามารถในการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศของแต่ละประเทศข้อมูลทาง ICT ยังถูกใช้ในการเปรียบเทียบระหว่างภูมิภาค ได้แก่ ICT Indicator สำหรับประเทศในกลุ่ม ASEAN ด้วยความสำคัญของตัวชี้วัด/สถิติ/ข้อมูลดังกล่าว เนคเทคจึงได้จัดให้มีหน่วยงานย่อยที่ปฏิบัติงานด้านดัชนีสังคมสารสนเทศโดยตรง รวมทั้งทางเนคเทคได้มีโอกาสร่วมมือกับทางสำนักงานสถิติแห่งชาติ ในการระบุ & จำแนกตัวชี้วัด จัดเก็บ/รวบรวมข้อมูลทางด้าน ICT ของประเทศไทย ซึ่งในส่วนหนึ่งเข้าใจว่าทางสำนักงานสถิติก็คงนำเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องในรูปแบบต่างๆ เช่น ทาง Website ของสำนักงาน/กระทรวง ICT ในส่วนของเนคเทคเอง เราก็ได้นำเสนอข้อมูลดังกล่าวในรูปแบบของหนังสือ ซึ่งมีทั้งสถิติและบทวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้อง

3 Internationally-harmonized Statistical / measurement tools that are
What kinds of indicators are we looking for to assess the Information Society ? Internationally-harmonized Statistical / measurement tools that are Simple to use Broadly cover diverse environment Sufficiently balanced (i.e., covers social/economic, supply side/demand side, etc.) Sensitive enough to reflect differences between societies

4 Concerns of developing
Strategy Divide between Developed and Developing Countries UNCTAD 2002 Concerns of developing countries and LDC Concerns of developed And industrial leaders Basic Telecommunications Basic Access to the Internet Human Capacity Building Affordable Access Devices (PCs, PDA) National ICT Policy and Plan Threat of Liberalization Appropriate Software (Legal, compact, low cost) Local Language enabled on Computers Creation of Local Contents Portal Sites e-Government -- Government Facilitation Standards in manufacturing, safety, health IT-Laws (e-Transaction, e-Signature, Computer Crime, Data Protection, anti-spam) Security -- Information/System/Network Authentication and Certification, PKI Broadband Access (Corporate, home) IT-Manpower development Regional Networking Collaboration Opportunities from Liberalization and Regionalization e-Marketplaces e-Payment infrastructure Consumer Protection Cross Border Certification Intellectual Property rights Protection Privacy Introducing A Spectrum of 25 e-Strategies Here is the main concept. I would like to introduce twenty-five most popular issues which were found in the e-Strategies of many countries. The list was developed during the UNCTAD meeting in Bangkok last year, in which I was listening to the presentations on national e-Strategies for development and e-Commerce of several countries. The twenty-five issues are listed down in the manner that the concerns of developing countries and LDC are placed at the top; with more sophisticated issues of the developed countries and world leaders are placed at the bottom. As you can see from the list, the three top issues are the - basic telecommunication such as phone lines; - basic access to the Internet; and - human capacity building (including the literacy of the citizen). At the middle of the list are - creation of local content - IT standards, safety standards, manufacturing standards - Law development - Security, broadband, IT manpower And at the bottom are - consumer protection - cross-border certification - Intellectual Property Right Protection, and - Privacy There are some issues which I do not put in the list such as <gender>, where I would like to see more systematic data collection on every issue to contain the gender divide instead of placing the gender issues as one item in the list.

5 A fully developed Information Society
If there is a fully and perfectly developed Information Society, and we have fully defined the index on each of the category, that society will probably get a in every index like this. 100 Source: UNCTAD E-Commerce and Development Report 2003

6 A highly developed I.S. In reality, a highly developed IS may look like this in the year 2003. 100 Source: UNCTAD E-Commerce and Development Report 2003

7 A developing society Or it might look like this in 2003. The question is what kind of the World Information Society we want to be at the time of Tunis WSIS. We can work out the internationally harmonized target. 100 Source: UNCTAD E-Commerce and Development Report 2003

8 Analyzing WSIS Plan of Actions - Indicators
During November, we analyzed the WSIS Plan of Actions draft version of 14 November. After we places all the measures and indicators from the Plan of Actions to the spectrum framework, here is what we get…

9 WSIS Plan of Actions - Indicators
Top strategies in the plan Basic Access to the Internet (21) Human Capacity Building (19) IT Manpower Development (19) Security (13) Opportunities from Liberalization and Regionalization (12) After doing all the placement in the spectrum framework, we would like to pick up the top five most popular strategies [copy from slide]

10 Concerns of developing
Strategy Divide between Developed and Developing Countries UNCTAD 2002 Concerns of developing countries and LDC Concerns of developed And industrial leaders Basic Telecommunications Basic Access to the Internet Human Capacity Building Affordable Access Devices (PCs, PDA) National ICT Policy and Plan Threat of Liberalization Appropriate Software (Legal, compact, low cost) Local Language enabled on Computers Creation of Local Contents Portal Sites e-Government -- Government Facilitation Standards in manufacturing, safety, health IT-Laws (e-Transaction, e-Signature, Computer Crime, Data Protection, anti-spam) Security -- Information/System/Network Authentication and Certification, PKI Broadband Access (Corporate, home) IT-Manpower development Regional Networking Collaboration Opportunities from Liberalization and Regionalization e-Marketplaces e-Payment infrastructure Consumer Protection Cross Border Certification Intellectual Property rights Protection Privacy 21 19 19 13 12 When we place these top indicators on the spectrum, this is what it looks like.

11 National Needs Monitoring the progress of ICT Master Plan implementation
Ladies and Gentlemen, May I introduce the case of Thailand. We have started the ICT indicator project since December 2002, and we now have the first issue of the ICT indicator report.

12 Strategies in the ICT Master Plan
4. Raise potential infrastructure for future Competitiveness 7. E-Government กับการ 1. Promotion of Thai ICT Industry 3. Reform ICT Research & Development 6. ICT for SMEs 2. ICT for better Quality of Life The ICT Master Plan of Thailand puts down seven strategies. These strategies were formulated by stakeholders and meetings between government/academia/private sector. In the Master Plan we define core indicators which are related to each strategies. And they are listed in Annex B of my paper 5. Develop entrepreneurships towards export expansion

13 Indicators to Assess Overall Success of the Master Plan
(1) Index of the ICT contribution to the economy e. g. ICT Growth, Employment (2) Index of the competitiveness of the country's ICT industry such as ratio of ICT expenditures to GDP, share of Thai software industry in the world market (3) Index of role of ICT in community development e.g. value of local content, amount of local traffic in relation to total Internet access, the increase in Thai-content Web pages (4) Index of role of ICT in human resource development such as the use of e-learning, and availability of ICT tools and experts in both formal and non-formal education

14 Strategy 1 Promotion of Thai ICT Industry
Number of qualified researchers, software developers, and certified professional developers Total value of government IT projects in which Thai entrepreneurs are involved Government's IT budget (for both hardware and software) Expansion of software market in the country Total value of exported software Total value of exported ICT products Ratio of domestic software development and open-source software systems to total value of software market in each year Increase in number of software developers and market capitalization Decrease in imported software Etc. (Examples – for other strategies, consult chapter 7, ICT Master Plan)

15 Unified ICT Indicators Project
Has the objective to develop a comprehensive ICT indicators database that allow for an assessment of the country’s progress on many aspects of the information society. The project also aims to set up a systematic mechanism in collecting, analyzing, and disseminating a core list of ICT indicators on a continual basis. These indicators to be put on-line at MICT Operations Center and the Prime Minister Operations Center, to help in policy decision process วัตถุประสงค์ของการจัดทำหนังสือ 1.    เป็นเอกสารที่รวบรวมสถิติด้าน ICT ของประเทศที่มีความน่าเชื่อถือ และสามารถใช้อ้างอิงได้ ( ขยายความ : ที่มีการจัดเก็บอย่างกระจัดกระจายตามหน่วยงานต่างๆ มาไว้ที่เดียว โดยมีการนำเสนอในรูปแบบที่เข้าใจได้ง่าย) 2.    มีข้อมูลใช้ในการวางแผน กำหนดนโยบาย วางกลยุทธ์ หรือทำงานศึกษาวิจัย ระหว่างภูมิภาค ได้แก่ ICT Indicator สำหรับประเทศในกลุ่ม ASEAN

16 Making Indicators available
A working team - partnership between NECTEC, Ministry of Science and Technology and NSO, Ministry of Information and Communication Technology since August 2003. Collaboration with others including -National Economic and Social Development Board, Ministry of Education, TOT Corporation, CAT Telecom etc.

17 Methodologies Review existing lists of ICT indicators, such as, OECD, ASEAN e-readiness, UNCTAD, ICT Master Plan, etc.. Holding consultative sessions are identified to be included in the core list 133 indicators divided into 9 categories

18 Methodologies (2) 9 categories ICT human resources (30)
ICT Market (28) Internet (22) ICT use in the government (20) Telecommunications (10) E-Commerce (9) ICT R&D and patents (7) General macroeconomic indeces (6) Broadcasting (1)

19 Methodologies (3) Of 133 indicators, 94 has clear definition, or can assume a proxy/proxies for that particular indicator, whereas 39 does not have either clear definition, available indeces, and agengies that are responsible Of 94, only 63 has data available or can reasonable assume proxy/proxies

20 Making Indicators available
Staged approach: Start with the existing data Add data which can be derived or calculated from existing data Conduct new surveys for the indicators which we have never collected before (started in 2001, full scale in 2004) Further research for suitable indicators and methodology From the plan, NECTEC and NSO jointly conducted a joint unified ICT indicator project. We organize our approach into 3 stages. The easy one first, that is, using the existing data. Then...

21 Thailand ICT Indicators 2003-2004
Thailand ICT Indicator Series I (October 2003) Thailand ICT Indicator 2005 (February 2005) ICT Uptake: Thailand in the Information Age (July 2004) presented ICT indicators in 9 areas Presented ICT indicators in 9 areas 1. Telecommunications 2. Internet 3. Broadcasting 4. e-Commerce 5. ICT Market/Industry ผลงานที่ผ่านมา 1. ครั้งที่ 1 ในปี ภายใต้ชื่อ Thailand ICT Indicators Series I (October 2003) แจกครั้งแรกในงานประชุม APEC เดือนตุลาคม 2546 พิมพ์จำนวน 6000 เล่ม (หมดแล้ว) สามารถเจ้าไปดูได้ที่ website 2. ครั้งที่ 2 ในเดือนกรกฏาคม 2547 ได้จัดทำแผ่นพับภายใต้ชื่อ ICT Uptake: Thailand in the Information Age แจกครั้งแรกในงานประชุม ASEAN TELMIN/TELSOM จัดโดยกระทรวง ICT ที่ประเทศไทย ครั้งที่ 3 ปี 2548นี้ เราได้จัดทำหนังสือ Thailand ICT Indicators 2005:Thailand in the Information Age จำนวนพิมพ์ 3000 เล่ม ซึ่งก็ได้ใช้บทเรียนที่เราได้จากการทำหนังสือเล่มแรกมาปรับปรุงให้มีข้อมูลที่ครบถ้วนยิ่งขึ้น แม้ว่ารูปแบบจะคล้ายคลึงกับปีแรก โดยเผยแพร่ครั้งแรกในงานประชุม APECTEL 31 ที่ผ่านไปเมื่อเดือนเมษายนนี้ ** การจัดหมวดหมู่ในเล่มที่ 2 แตกต่างจากเล่มแรกเล็กน้อย ในส่วนของ Regulatory Framework และ ICT Human Resource. ในเล่มที่ 2 ไม่มีการรายงาน Regulatory Framework เนื่องจากไม่มีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม ในขณะที่ ICT Human Resource เป็นส่วนที่เพิ่มเข้ามาเนื่องจากได้รับข้อมูลเพิ่มเติมจากหน่วยงาน เพื่อนำเสนอให้เห็นภาพโดยรวมของการพัฒนาด้าน ICT ของประเทศ จึงจัดกลุ่มตัวชี้วัด/ข้อมูลออกเป็น 9 ด้าน ได้แก่ 1.Broadcasting ….9.Research and Development ทั้งนี้การจัดกลุ่มและการลำดับในแต่ละบท เป็นไปตามขั้นตอนพัฒนาของเทคโนโลยี กล่าวคือเริ่มจาก 1.   พิจารณาเรื่องความพร้อมในเทคโนโลยี ตั้งแต่โครงสร้างพื้นฐาน ไปถึงเทคโนโลยีในปัจจุบัน คือ จาก broadcasting Internet 2.   การใช้งานเทคโนโลยีในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การประยุกต์ใช้ในด้านพาณิชย์ การใช้ในภาครัฐ การใช้ในภาคการศึกษา เป็นต้น 3.   แนวโน้มของศักยภาพในการเป็นผู้ใช้และผู้พัฒนาเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต ได้แก่ ข้อมูลด้านบุคลากรในสายอาชีพ ICT และ การใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนา 6. ICT Human Resource 7. ICT in Government Sector 8. R&D Patents 9. Regulatory Framework 1. Telecommunications 2. Internet 3. Broadcasting 4. e-Commerce 5. ICT Market/Industry 6. ICT Human Resource 7. ICT in Government Sector 8. R & D 9. Computer Usage

22 Data/Information Contributions Received
Government Private NSO NESDB BOT Dept. of Business Trade, Min. of Commerce Office of the Comptroller General National Research Council of Thailand Ministry of Education NECTEC TOT CAT Telecom SET ATCI ATSI ISP The Information Network Association Business Software Alliance (BSA) ข้อมูลที่อยู่ในหนังสือเล่มนี้ ส่วนใหญ่รวบรวมจากข้อมูลที่จัดเก็บอยู่แล้วตามหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ซึ่งผู้ที่เป็นแกนกลางที่สำคัญในการประมวล รวบรวมข้อมูลดังกล่าว ก็คือ สำนักงานสถิติแห่งชาติร่วมกับเนคเทค โดยบุคลากรของทั้งสองหน่วยงานได้ทำงานร่วมกันในรูปแบบของคณะทำงานฯ ทั้งนี้ในการได้มาซึ่งข้อมูลก็ได้รับความอนุเคราะห์ด้านข้อมูลเป็นอย่างดี จากหน่วยงานดังที่ท่านเห็นปรากฏบน Slides ซึ่งเราก็หวังอย่างยิ่งว่าจะได้รับความอนุเคราะห์จากท่านในโอกาสต่อไป สำหรับหน่วยงาน ซึ่งอาจไม่ได้มีชื่อปรากฏบน slides แต่คิดว่าท่านมีข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เวทีการเสวนาในวันนี้ ก็เป็นโอกาสดีที่เราจะได้แลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกัน อย่างน้อยๆ ก็จะได้รู้ว่า ใครทำอะไร

23 International Cooperation on ICT Indicators
NECTEC has cooperated with the Center of the International Cooperation for Computerization (CICC), Japan to organize The Third Asian Forum for Information Technology (October 2004) นอกจากนี้ ในเดือนตุลาคมปี 2547 ที่ผ่านมา เนคเทคได้ร่วมกับ Center of the International Cooperation for Computerization ประเทศญี่ปุ่น จัดประชุม the Third Asian Forum for Information Technology ใน theme เรื่อง IT Measurement เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูล/ความรู้เกี่ยวกับความพยายาม/กลไกในการจัดเก็บข้อมูล/สถิติทางด้าน ICT ในประเทศทางด้าน Asia

24 ASEAN Core List of ICT Indicators
Thailand has been active in cooperation within ASEAN under ASEAN TelMin/TelSOM to develop a core list of ICT indicators (already endorsed by TelMIN) as follows: Infrastucture (13, 2) Trade (5, 0) Qualifications (5, 1) The ICT sector (11, 4) Business’s readiness and use of ICT (12, 2) E-Government (12, 4) Household’s and individual’s readiness and use of ICT (4, 5) Use of ICTs in schools (0, 2) Patents (0, 3) Total approx. 62 core indicators and 23 suppl. indicators

25 Challenges & Lessons Learned
Data availability: scattered data in various agencies, differing frequency, differing definitions  consultation and consensus needed to develop a common understanding Need to increase awareness and recognition of the importance of ICT indicators  have to convince them that some can be used as their KPI measures..top-down endorsement at the policy-level may also be needed

26 Challenges & Lessons Learned
Need to increase awareness and recognition of the importance of ICT indicators among general public and industry so that they are willing to cooperate in the process to develop the indicators Determining the core list is an essential step in order to capture a full coverage of ICT development within the country. Each indicator should have a clear purpose and relate to information needed for policy decision Capacity building of personnel as well as international collaboration remains the key in this endeavor.

27 Future Plan Study to conceptualize and collect indicators to monitor the impact of ICT to the economy, e.g., Contribution of value added in the ICT sector to total business sector value added Contribution of employment in the ICT sector to total business sector employment Contribution of production value in the ICT sector to total business sector production value Contribution of revenue in the ICT sector to total business sector revenue Growth of revenue in the ICT sector, Etc. การดำเนินการของเนคเทคในด้านตัวชี้วัด & ดัชนี ICT ในอนาคต 1. ที่ผ่านมาเนคเทคนับว่าเป็นหน่วยงานหนึ่งที่จุดประกายให้เกิดงานทางด้านตัวชี้วัด ICT และได้มีกิจกรรมที่เป็นการศึกษาวิจัย/เชิงวิชาการ เช่น a. การร่วมกับสำนักงานสถิติแห่งชาติจัดทำโครงการระบบนำเสนอข้อมูลสถานภาพตัวชี้วัดด้าน ICT b. การสำรวจคุณลักษณะและพฤติกรรมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เป็นประจำทุกปี c. การสำรวจสถานภาพผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ d. การศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำตัวชี้วัดด้านการประเมินนัยสำคัญทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรม ICT] e. การมีส่วนร่วมในการให้ความเห็นเพื่อจัดทำแบบสอบถามด้านการมีการใช้ ICT ของสำนักงานสถิติ 2. อย่างไรก็ดี บทบาทหลักในการเป็นหน่วยงานกลางในเรื่องของข้อมูลด้านสถานภาพ ICT นั้น เราตระหนักดีว่า ก็คงต้องเป็นของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ซึ่งวันนี้ในช่วงของการเสวนานั้น ก็ได้รับเกียรติจากท่านรองเลขาธิการ มาร่วมเป็นผู้นำเสวนาในครั้งนี้ เราก็คงจะได้รับทราบแนวทางการทำงานเพื่อให้ประเทศไทยมีข้อมูลด้าน ICT ที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้นต่อไป ในส่วนของเนคเทคเองนั้น เราเป็นหน่วยงานวิจัย ดังนั้น งานที่เราคิดว่า เราสามารถมีส่วนช่วย contribute งานด้านฐานข้อมูลนี้ ให้ดีขึ้นได้ ก็คงเป็นเรื่องของงานวิจัย/วิชาการ อาทิ การศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำตัวชี้วัดอื่นๆ ที่ยังไม่มีการจัดเก็บข้อมูลในประเทศไทย หรือทำให้การจัดเก็บข้อมูลดังกล่าวมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยร่วมมือกับหน่วยงานที่อาจต้องเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรง เช่น การสำรวจมูลค่าตลาด ICT (ร่วมกับ SIPA) การสำรวจมูลค่า e-Commerce ในปีต่อๆ ไป (กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวง ICT) และตัวชี้วัดด้านผลกระทบของ ICT ซึ่งตัวชี้วัดที่ใช้ในเวทีระดับนานาชาติ ที่ไทยไม่มีได้แก่ 1.จำนวนเว็บไซต์ต่อปชก คน (OECD) 2.ต้นทุนการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (Internet Access Cost) (e-ASEAN) 3.ตัวชี้ผลของภาค ICT ต่อระบบเศรษฐกิจ เช่น 3.1 Contribution of value added in the ICT sector to total business sector value added 3.2 Contribution of employment in the ICT sector to total business sector employment 3.3 Contribution of production value in the ICT sector to total business sector production value 3.4 Contribution of revenue in the ICT sector to total business sector revenue 3.5 Growth of revenue in the ICT sector เป็นต้น b. การศึกษาวิจัยเพื่อประเมินสถานภาพความก้าวหน้าด้าน ICT ของประเทศไทย โดยใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่มีอยู่ และ/หรือศึกษาวิธีการของดัชนี (Index) ต่างๆ ที่ได้มีการนำเสนอในเวทีระหว่างประเทศ 4. นอกจากนี้ เนคเทคยินดีให้ความร่วมมือกับหน่วยงานกลาง (สำนักงานสถิติแห่งชาติ) ในเรื่องของข้อมูลที่เกี่ยวกับตัวชี้วัดที่เนคเทคทำอยู่ เช่นการประเมิน website ภาครัฐ การจัดเก็บสถิติด้าน Internet Traffic

28 Thank You chadamas@nectec.or.th

29 Selected Indicators ในวันนี้ ขอเลือกรายการตัวชี้วัดบางกลุ่มเพื่อมานำเสนอให้เห็นถึงภาพ การพัฒนาด้าน ICT ของประเทศ

30 การแพร่กระจาย (Diffusion) ICTs
Computer Mobile phone ?? ICTs Internet กลุ่มข้อมูลกลุ่มแรกที่จะนำเสนอในวันนี้ เป็นเรื่องของความพร้อม (Readiness) โดยพิจารณาจากการแพร่การกระจายของโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ ทั้งในเรื่องการ “การมี” และ “การใช้” ในหลายช่องทางการสื่อสาร (Channel for Information flow) ได้แก่ 1.วิทยุและโทรทัศน์ หรือ Broadcasting Technology เป็นเทคโนโลยีดังเดิมที่หลายๆ คนอาจจะมองข้ามไป 2. โครงข่ายโทรคมนาคม ที่ทำให้เกิดการสื่อสาร ซึ่งจะเสนอภาพทั้งในส่วนของโทรศัพท์พื้นฐาน (โทรศัพท์ประจำที่และโทรศัพท์สาธารณะ) 3. คอมพิวเตอร์ โดยจะนำเสนอครอบครอง และการใช้ทั้งในภาคครัวเรือน และภาคธุรกิจ 4. อินเทอร์เน็ต และการเติบโตของการใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ต่อไปในวันข้างหน้า เครื่องมือใหม่ๆ ก็คงจะเกิดขึ้น/ถูกนำมาใช้เป็นช่องทางของการสื่อสารเช่นกัน (ยกตัวอย่าง Ubiquitous Network Society Concept – Any where, Any time, Any body, Any devices ) TV & Radio

31 Percentage of Households with Television/Radio
พบว่าเกือบทุกครัวเรือนในประเทศไทยมี เครื่องรับโทรทัศน์ TV โดยการแพร่กระจายของ TV เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเป็นที่น่าสังเกตว่า ในทางกลับกัน แนวโน้มของการมีวิทยุลดลง

32 Number of Fixed Lines per 100 Inhabitants (1999-2004)
Slide นี้นำเสนอการแพร่กระจายของโทรศัพท์ประจำที่ (fixed line) เมื่อเทียบกับประชากร 100 คน ทั้งในส่วนของศักยภาพ และการใช้งานจริง จะเห็นว่าการเพิ่มขึ้นของโทรศัพท์ประจำที่นั้น เป็นไปอย่างช้าๆ

33 Number of Fixed Lines per 100 Inhabitants by Location (1999-2004)
ภาพนี้แสดงให้เห็นถึงการแพร่กระจายของโทรศัพท์พื้นฐาน ณ ภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ ภาพที่ปรากฏสะท้อนให้เห็นถึง ความไม่เท่าเทียม/เหลื่อมล้ำ ในการเข้าถึงโครงข่ายของโทรศัพท์ประจำที่ (Digital Divide) โดยผู้ที่อาศัยอยู่ที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล ได้รับโอกาสการเข้าถึงมากกว่าส่วนอื่นๆของประเทศอย่างเห็นได้ชัดเจน Year

34 Number of Mobile Phone Users (2000-2004)
อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาการเข้าเข้าถึงโครงข่ายการสื่อสาร ผ่านทางระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่พบว่า อัตราการเข้าถึงมีมากกว่าการเข้าถึงของโทรศัพท์ประจำที่ อีกทั้งมีอัตราการเติบโตที่รวดเร็วกว่า จากข้อมูลที่นำเสนอจะเห็นได้ว่า สัดส่วนของประชากรที่มีการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่มีร้อยละ 36.3 ในขณะที่ของโทรศัพท์ประจำที่ในSlide 11 มีค่าประมาณร้อยละ 10 เท่านั้น

35 Percentage of Households with Computers (2001-2004)
เมื่อพิจารณาเทคโนโลยีที่มีความเป็นปัจจุบันมากขึ้น อย่างเช่น คอมพิวเตอร์ โดยพิจารณาจากครัวเรือนที่มีคอมพิวเตอร์ พบว่า การแพร่กระจายของคอมพิวเตอร์ของประเทศ ในภาพรวมยังค่อนข้างน้อย ทั้งนี้ พบว่า ครัวเรือนส่วนใหญ่ในกรุงเทพฯ มีคอมพิวเตอร์มากกว่าส่วนอื่นๆของประเทศ อย่างไรก็ตาม การแพร่กระจายมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

36 Internet Penetration by Location (2001-2004)

37 Number of Internet Users (1998-2004)
-แสดงมิติของการเข้าถึง /การใช้อินเทอร์เน็ตซึ่งถือเป็นอีกช่องทางการสื่อสาร -แนวโน้มเพิ่มขึ้น -รายละเอียดของพฤติกรรมการใช้สามารถดูได้จาก ผลการสำรวจ Internet User Profile ของเนคเทค -แนวโน้มเพิ่มขึ้น อาจเนื่องมากจากแรงจูงใจทางราคาค่าบริการที่สามารถจ่ายได้ รวมทั้งการขยายตัวของการให้บริการ Internet ความเร็วสูง

38 การใช้งาน (Usage) e-Government e-Commerce e-Education
การใช้นำเทคโนโลยีไปใช้ในส่วนต่างๆของระบบเศรษฐกิจ (ทั้งในภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ และภาครัฐ) และในรูปแบบต่างๆ

39 Percentage of Establishments with ICTs by Size (2003)
จาก slide นี้ จะเห็นได้ว่า Digital Divide นั้น ไม่ใช่มีแต่มิติของสถานที่ตั้งทางกายภาพเป็นปัจจัยสำคัญ แต่ยังมีมิติอื่นๆ ที่เราต้องพิจารณาด้วย เช่น affordability ดังจะเห็นได้ว่า ธุรกิจขนาดกลางและขนาดใหญ่มีการนำ ICT (คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และเว็บไซต์) มาใช้ในอัตราที่สูงกว่าธุรกิจขนาดย่อม นอกจากนี้ หากพิจารณารายเทคโนโลยีจะเห็นได้ว่า แม้ว่าบริษัทจะมีคอมพิวเตอร์ แต่บริษัทจำนวนหนึ่งก็ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์จากคอมพิวเตอร์ในเรื่องที่เกี่ยวกับการสื่อสาร ดังจะเห็นได้ว่าสัดส่วนของสถานประกอบการที่เข้าถึงอินเทอร์เน็ตและมีการใช้ website จะลดน้อยกว่า การเข้าถึงคอมพิวเตอร์

40 Percentage of Business Establishments with Internet Access by Economic Activities (2003)
% of establishments เมื่อพิจารณาการใช้อินเทอร์เน็ตของ กลุ่มกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ พบว่า ในกลุ่มที่มีการใช้อินเทอร์มากใน 5 อันดับแรก ผู้ประกอบการในกลุ่มของธุรกิจด้านคอมพิวเตอร์และบริการที่เกี่ยวข้อง (TSIC 72)มีการใช้อินเทอร์เน็ตมากที่สุด คือมีค่ากว่าร้อยละ 82 รองลงมาได้แก่ผู้ประกอบการในกลุ่มที่ทำงานด้านการวิจัยและพัฒนา มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตร้อยละ 79 ในขณะที่ส่วนในกลุ่มของการค่าส่งและค้าปลีก ซึ่งเป็นกลุ่มที่น่าจะได้ประโยชน์จาก อินเทอร์เน็ตในฐานะที่เป็นช่องทางการสื่อสารที่ประหยัด สะดวก และรวดเร็ว นั้น มีการใช้เพียงร้อยละ 13

41 ฐานรากแห่งการพัฒนา HR and R&D
กลุ่มข้อมูลที่แสดงถึงการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่สังคมสารสนเทศ ความพร้อมในที่นี้ สามารถที่จะพิจารณาได้จาก 1.ทรัพยากรมนุษย์ ได้แก่ คุณภาพและความชำนาญแรงงาน 2.และจากกิจกรรมการสร้างความรู้ เช่น งานด้านการวิจัยและพัฒนา

42 ICT Workforce ( ) ผลจากการสำรวจในปี ( ) พบว่า สัดส่วนของแรงงานอาชีพสาย ICTมีจำนวนค่อนข้างต่ำ อยู่ที่ประมาณ 280, ,000 คน สัดส่วนของแรงงานด้าน ICT ในปี มีคิดเป็น 9.5 คนต่อประชากร 1000 คน และส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มที่งานใช้ทักษะน้อย ( low skilled job) ดังจะเห็นได้ว่า ในกลุ่ม low-skilled คิดเป็นอัตราส่วนมากกว่าร้อยละ 70 ของแรงงานด้าน ICT ทั้งหมด อย่างไรก็ตาม ภาคงานรัฐให้ความสนใจในการสร้างแรงงานทางด้านนี้ โดยเฉพาะบุคลากรด้าน software เช่น SIPA มีการจัดทำโครงการอบรมระยะสั้นต่างๆเพื่อยกระดับความรู้ด้าน ICT แก่แรงงานที่นอกสาขา ICT อย่างไรก็ตาม ข้อมูลแรงงานด้าน ICT เป็นกลุ่มที่ยังไม่สมบูรณ์ ที่นำมาเป็นส่วนหนึ่งของการการสำรวจแรงงาน เพื่อให้ได้ข้อมูลแรรงานด้าน ICT ถูกต้อง ยังคงต้องมีการจัดเก็บในรายละเอียดต่อไป

43 R&D Personnel in ICT Field (1996-2001)
เมื่อพิจารณาความพร้อมในมิติของการสร้างความรู้ ซึ่งสามารถพิจารณาได้จาก ด้านบุคลากรนั้น พบว่า ในปี (Y ) นักวิจัยในสาขา ICT มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ในขณะที่ผู้ช่วยวิจัยมีจำนวนลดลง อย่างไรก็ข้อมูลยังมีจำนวนน้อย ยากที่จะเห็นแนวโน้มที่ชัดเจน เมื่อพิจารณาโดยเปรียบเทียบกับนักวิจัยทั่วประเทศพบว่า นักวิจัยในสาขา ICT มีน้อย จากข้อมูลปี 2544 พบว่ามีค่าอยู่ที่ร้อยละ 3 ในขณะที่ผู้ช่วยนักวิจัยมีสัดส่วนอยู่ที่ร้อยละ 2 ** หมายเหตุ ข้อมูลนี้นำมาโดยตรงจาก สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติโดยตรง กลุ่มที่เราเรียกว่า ICT คือ กลุ่ม คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสาร

44 e-Commerce Transaction Value* (2003)
มูลค่าตลาดของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เป็นอีกกลุ่มข้อมูลที่มีความสำคัญ แต่การจัดเก็บข้อมูลยังอยู่ในระยะเริ่มแรก อย่างไรก็ตาม เนคเทคและกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ได้ร่วมกันจัดทำโครงการสำรวจขึ้นเมื่อปี 2547 โดยสำรวจจากผู้ประกอบการรายสำคัญ (Key Players) ของประเทศ 60 ราย เพื่อสำรวจมูลค่าของของ B2B และ B2C สำหรับมูลค่าของ B2G มิได้ทำการสำรวจแต่นำมาจากมูลค่าการประมูลออนไลน์ของ กรมบัญชีกลาง จากข้อมูลพบว่า มูลค่าธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่มาจากการทำธุรกรรมระหว่างผู้ประกอบการด้วยกัน (91%)รองลงมาได้แก่ การทำธุรกรรมระหว่างรัฐกับผู้ประกอบการ(8%) ในขณะที่ การทำธุรกรรมระหว่างบุคคลยังไม่เป็นที่แพร่หลายนัก สืบเนื่องมาจากหลายปัจจัย ทั้งในเรื่อง ระบบการชำระเงิน กฎหมายคุ้มครองและความคุ้มครอง และระบบประกันความเชื่อถือ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม กระทรวงพาณิชย์ มีโครงการที่จะจัดทำ Trustmark เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือแก่ผู้ประกอบการ ซึ่งจะส่งผลในผู้ซื้อมีความมั่นใจมากขึ้น

45 Government Budget on Computer Equipment (1998-2004)
งบประมาณด้าน ICT ในภาครัฐที่นำเสนอเป็นงบประมาณด้านครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ซึ่งงบในส่วนนี้ถือเป็นตัวชี้วัดอย่างคร่าวๆ ของความพร้อมในโครงสร้างพื้นฐานทาง ICT ของภาครัฐ ซึ่งเป็นพื้นฐานของการเตรียมการในการให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ดังจะเห็นได้ว่ารัฐเริ่มให้ความสำคัญแก่งบประมาณในด้านนี้อย่างต่อเนื่อง ทั้งในเชิงปริมาณที่เป็นตัวเงินและสัดส่วนเทียบกับงบประมาณด้านอื่น นอกจากนี้จะเห็นได้ว่ารับมีโครงการขนาดใหญ่ๆทางด้าน ICT ได้แก่ โครงการจัดทำบัตร smart card เป็นต้น ซึ่งน่าจะเป็นส่วนหนึ่งของการบ่งชี้การเกิดการบริการต่างๆ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ในอนาคต

46 Number of Government Web Sites by Type of Online Services (2004)
เมื่อพิจารณาถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในภาครัฐ และที่เห็นได้ชัดว่ามีความก้าวหน้า ได้แก่ การมี website จากผลการสำรวจของ เนคเทค ในปี 2547 พบว่า หน่วยงานระดับกรมขึ้นไปจำนวน 267 หน่วยงาน ทุกหน่วยงานมี website แต่จะมีระดับความก้าวหน้าที่ต่างกัน ส่วนใหญ่เป็นการให้ข้อมูล มีเพียงร้อยละ 77 ที่มีมีการสร้างปฎิสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการ( interaction) เช่น การมี Search Engine มีโปรแกรมส่ง กลับไปยังหน่วยงาน เป็นต้น ส่วน web ที่สามารถทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ได้มีร้อยละ 55 อย่างไรก็ตามพบว่า web ต่างๆ ยังไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน ( integration)

47 Government e-Auction by Value (2002-2004)
การจัดซื้อจัดจ้างผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นธุรกรรมที่หนึ่งของโครงการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ที่ผ่านมาการดำเนินธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างรัฐและผู้ประกอบการยังมีมูลค่าไม่สูงนัก แต่หลังจากเดือนตุลาคมที่ คณะรัฐมนตรีประกาศให้ทุกหน่วยงานในภาครัฐต้องมีการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ พบว่ามูลค่าการจัดซื้อจัดจ้างเพิ่มขึ้นจาก 177 ในปี 2545 ล้านบาท เป็น 5006 ล้านบาทในปี 2546 โดยที่ รัฐตั้งเป้าหมายไว้ว่าในปี 2549 รัฐจะมีการจัดซื้อจัดจ้างผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์มากถึง 100,000 ล้านบาท

48 ICT R&D Researchers by Sector (2001)

49 National R&D Expenditures (1991-2001)
การวิจัยพัฒนาของประเทศในภาพรวม ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียังอยู่ในระดับที่ค่อนข้างต่ำ ต่ำกว่าร้อยละ 1 และเมื่อพิจารณาเฉพาะในสาขา ICT พบว่า มีขนาด เพียงไม่ถึงร้อยละ 0.01ของการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Notes Total IT % % % %

50 Distribution of ICT R&D Expenditures by Sector (1996-2001)
เมื่อพิจารณาข้อมูลด้านการใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาแยกตาม ภาคเศรษฐกิจต่างๆ พบว่า ภาคการศึกษาเป็นภาคที่มีการทำวิจัยมากที่สุด รองลงมาได้แก่ภาครัฐ ในขณะที่ภาคธุรกิจการอยู่อันดับที่ 3 อย่างไรก็ตาม ลำดับต่างๆนี้ ไม่มีรูปแบบที่แน่นอน ดังจะเห็นว่า ในปี 2539 (1996) ภาคธุรกิจมีสัดส่วนการใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาสูงสุด ในขณะที่ในปี 2544 (2001) ภาครัฐเป็นภาคที่มีสัดส่วนค่าใช้สูงสุด เหตุผลหนึ่งอาจจะมาจาก ข้อจำกัคของข้อมูลเองเช่น ในเรื่องการ ปรับเปลี่ยนเกณฑ์ในการจัดกลุ่ม เช่น ในกลุ่มข้อมูลของภาครัฐ กล่าวคือ ในปี 2544 ได้มีการรวมเอาหน่วยงานอิสระบางหน่วยงานเพิ่มเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งกลุ่มภาครัฐ

51 ปัญหาและอุปสรรคของการจัดเก็บข้อมูล
ข้อมูลมีอยู่กระจัดกระจายในหลายหน่วยงาน ยังไม่มีผู้จัดเก็บข้อมูลสำคัญบางรายการ ขาดความเข้าใจร่วมกันในนิยาม ความหมาย และขอบเขตของข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ยังไม่ตระหนักถึงความสำคัญของสถิติด้าน ICT กลไกการจัดเก็บ/รวบรวม และเชื่อมโยงข้อมูลยังอยู่ในขั้นเริ่มต่น จากการทำงานเพื่อจัดทำตัวชี้วัด จัดเก็บ/รวบรวมข้อมูลทางด้าน ICT และเผยแพร่ในรูปแบบหนังสือดังที่ทุกท่านมีอยู่นั้น ทางทีมงานพบปัญหา/อุปสรรคสำคัญซึ่งจะ highlight ในที่นี้ คือ 1. ลักษณะของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสถานภาพการพัฒนา ICT มีอยู่อย่างค่อนข้างกระจัดกระจายตามหน่วยงานต่างๆ ผลที่ตามมา คือ ค่อนข้างยากที่จะ locate หน่วยงานที่รับผิดชอบที่แท้จริง ทั้งในระดับหน่วยงานหลัก และหน่วยงานย่อยภายในองค์กรนั้นๆ ทำให้การประสานงานค่อนข้างจะใช้เวลา 2. ขาดการจัดเก็บตัวชี้วัด/ข้อมูลที่สำคัญบางรายการ เช่น a. ตัวชี้วัดที่สะท้อนการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ เช่น มีข้อมูล Internet users แต่ยังไม่มี broadband users b. ตัวชี้วัดที่เกี่ยวกับผลกระทบของ ICT ที่มีต่อเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งทางเนคเทคก็ได้ทำงานวิจัยเพิ่มเติมในเรื่องนี้กับทางสภาพัฒน์ แต่ก็ยังมีอีกหลายประการที่ควรดำเนินการต่อ c. ขาดตัวชี้วัดในระดับย่อย กล่าวคือ ข้อมูลที่ได้บางครั้งเป็นระดับ aggregated ซึ่งจะช่วยให้เห็นภาพรวมของประเทศ แต่ถ้าหากต้องการลงลึกเพื่อพิจารณามิติต่างๆ เพิ่มเติม ก็อาจจะไม่มี เช่น gender (หรือมีแต่ไม่ได้เผยแพร่?) หรือแม้กระทั่งอุตสาหกรรม ICT เอง การจำแนกอุตสาหกรรมในระดับย่อย (based on ISIC Code) ก็เป็นปัญหา d. ข้อมูลบางประการ จำเป็นต้องอาศัยข้อมูลจากภาคเอกชน ซึ่งการแข่งขันทางการค้า อาจทำให้บริษัทไม่ยินดีให้ข้อมูลกับหน่วยงานผู้จัดเก็บ แม้ว่าในการนำเสนอข้อมูลจะเป็นการเสนอภาพรวม และไม่แยกรายบริษัท 3. ยังขาดการตกลง ความเข้าใจร่วมกันในนิยาม ความหมาย และขอบเขตของข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ซึ่งส่วนหนึ่งอาจจะเกิดจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเอง ที่ทำให้สภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป ตัวอย่างง่ายๆ เช่น จำนวนนักศึกษาด้าน ICT จะให้รวมนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนหลักสูตรใดบ้าง จะนับรวมเฉพาะ computer science, computer engineer อย่างเดียว อาจจะไม่ practical ในขณะที่มีหลักสูตรด้าน IT, e-Commerce ฯลฯ เกิดขึ้นมากมาย 4. บางหน่วยงานยังขาดความตระหนักถึงความสำคัญของสถิติด้าน ICT เนื่องจากไม่ได้เป็นภารกิจของหน่วยงานโดยตรง ดังนั้น การจะผลักดันให้มีการจัดเก็บข้อมูล และ/หรือ update หรือปรับปรุงข้อมูลทีทันสมัยอยู่ตลอดเวลาจึงไม่ได้ถูกมองว่าเป็นเรื่องสำคัญเร่งด่วน 5. กลไกการจัดเก็บ/รวบรวม และเชื่อมโยงข้อมูล เช่น การที่สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้เริ่มจัดทำระบบนำเสนอข้อมูลสถานภาพตัวชี้วัด ICT โดยทำงานกับเนคเทคมาตั้งแต่ปี 2546 และได้ขอความร่วมมือจากหลายๆ หน่วยงาน โดยความตั้งใจ คือ จะให้มีการนำส่งข้อมูลอย่างต่อเนื่องเป็นระยะ (ตามความถี่ของการปรับข้อมูลนั้นๆ) ซึ่งนับเป็นว่าเป็นการ pioneer งานด้านระบบข้อมูล ICT อย่างไรก็ดี แต่ในทางปฏิบัติ ยังคงมีปัญหาในระดับดำเนินการ เช่น บุคคลที่รับผิดชอบของหน่วยงานเจ้าของข้อมูลมีการปรับเปลี่ยนตำแหน่ง ทำให้ขาดความต่อเนี่อง และบางครั้งข้อมูลที่ได้เป็น ad-hoc กล่าวคือ ได้รับเมื่อมีการร้องขอเป็นครั้งคราว 6. การเผยแพร่ข้อมูลและการนำข้อมูลมาใช้ a. ข้อมูลที่มีนั้นในบางครั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไม่ได้มีการเผยแพร่ ในการที่จะได้มาซึ่งข้อมูลจะต้องติดต่อรายบุคคล ซึ่งทำให้ใช้เวลาและขั้นตอนมาก นอกจากนี้ ยังทำให้ข้อมูลเหล่านั้น ไม่ได้ถูกนำมาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง b. ข้อมูลที่มียังไม่ได้ถูกนำไปใช้เพื่อการประเมินสถานการณ์/สถานภาพด้าน ICT อย่างแท้จริง ตามเจตนารมย์ของแผนแม่บทฯ

52 การดำเนินการในอนาคต สิ่งที่เนคเทคริเริ่ม เป็นเพื่อให้เกิดการตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นของตัวชี้วัดด้าน ICT สมควรหน่วยงานที่มีความเกี่ยวข้องโดยตรงทำการสานต่อ เนคเทคยินดีเป็นหน่วยงานสนับสนุนในด้านข้อมูล เนคเทคยินดีให้ความร่วมมือกับหน่วยงานกลาง ในเรื่องของข้อมูลที่เกี่ยวกับตัวชี้วัดที่ทำอยู่ การดำเนินการของเนคเทคในด้านตัวชี้วัด & ดัชนี ICT ในอนาคต 1. ที่ผ่านมาเนคเทคนับว่าเป็นหน่วยงานหนึ่งที่จุดประกายให้เกิดงานทางด้านตัวชี้วัด ICT และได้มีกิจกรรมที่เป็นการศึกษาวิจัย/เชิงวิชาการ เช่น a. การร่วมกับสำนักงานสถิติแห่งชาติจัดทำโครงการระบบนำเสนอข้อมูลสถานภาพตัวชี้วัดด้าน ICT b. การสำรวจคุณลักษณะและพฤติกรรมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เป็นประจำทุกปี c. การสำรวจสถานภาพผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ d. การศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำตัวชี้วัดด้านการประเมินนัยสำคัญทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรม ICT] e. การมีส่วนร่วมในการให้ความเห็นเพื่อจัดทำแบบสอบถามด้านการมีการใช้ ICT ของสำนักงานสถิติ 2. อย่างไรก็ดี บทบาทหลักในการเป็นหน่วยงานกลางในเรื่องของข้อมูลด้านสถานภาพ ICT นั้น เราตระหนักดีว่า ก็คงต้องเป็นของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ซึ่งวันนี้ในช่วงของการเสวนานั้น ก็ได้รับเกียรติจากท่านรองเลขาธิการ มาร่วมเป็นผู้นำเสวนาในครั้งนี้ เราก็คงจะได้รับทราบแนวทางการทำงานเพื่อให้ประเทศไทยมีข้อมูลด้าน ICT ที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้นต่อไป ในส่วนของเนคเทคเองนั้น เราเป็นหน่วยงานวิจัย ดังนั้น งานที่เราคิดว่า เราสามารถมีส่วนช่วย contribute งานด้านฐานข้อมูลนี้ ให้ดีขึ้นได้ ก็คงเป็นเรื่องของงานวิจัย/วิชาการ อาทิ การศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำตัวชี้วัดอื่นๆ ที่ยังไม่มีการจัดเก็บข้อมูลในประเทศไทย หรือทำให้การจัดเก็บข้อมูลดังกล่าวมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยร่วมมือกับหน่วยงานที่อาจต้องเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรง เช่น การสำรวจมูลค่าตลาด ICT (ร่วมกับ SIPA) การสำรวจมูลค่า e-Commerce ในปีต่อๆ ไป (กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวง ICT) และตัวชี้วัดด้านผลกระทบของ ICT ซึ่งตัวชี้วัดที่ใช้ในเวทีระดับนานาชาติ ที่ไทยไม่มีได้แก่ 1.จำนวนเว็บไซต์ต่อปชก คน (OECD) 2.ต้นทุนการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (Internet Access Cost) (e-ASEAN) 3.ตัวชี้ผลของภาค ICT ต่อระบบเศรษฐกิจ เช่น 3.1 Contribution of value added in the ICT sector to total business sector value added 3.2 Contribution of employment in the ICT sector to total business sector employment 3.3 Contribution of production value in the ICT sector to total business sector production value 3.4 Contribution of revenue in the ICT sector to total business sector revenue 3.5 Growth of revenue in the ICT sector เป็นต้น b. การศึกษาวิจัยเพื่อประเมินสถานภาพความก้าวหน้าด้าน ICT ของประเทศไทย โดยใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่มีอยู่ และ/หรือศึกษาวิธีการของดัชนี (Index) ต่างๆ ที่ได้มีการนำเสนอในเวทีระหว่างประเทศ 4. นอกจากนี้ เนคเทคยินดีให้ความร่วมมือกับหน่วยงานกลาง (สำนักงานสถิติแห่งชาติ) ในเรื่องของข้อมูลที่เกี่ยวกับตัวชี้วัดที่เนคเทคทำอยู่ เช่นการประเมิน website ภาครัฐ การจัดเก็บสถิติด้าน Internet Traffic

53 ข้อเสนอแนะเพื่อนำไปสู่การมีระบบ/ฐานข้อมูลด้าน ICT
ควร... มีหน่วยงานกลางที่ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการประสานงาน รวบรวม และนำเสนอข้อมูล สร้างความรู้ ความเข้าใจระหว่างหน่วยงานร่วมกันในเรื่องแนวคิด และวิธีการจัดเก็บข้อมูลด้าน ICT สร้างแนวทางการดำเนินงานที่ชัดเจนร่วมกัน พร้อมทั้งมีกลไกการจัดส่ง/เชื่อมโยงข้อมูล และบุคคลที่ติดต่อที่ชัดเจน มีการเผยแพร่สู่สาธารณชน ส่งเสริมให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำข้อมูลไปใช้ 1. มีหน่วยงานกลางที่ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการประสานงาน รวบรวม และนำเสนอข้อมูลภาพรวมด้าน ICT โดยปัจจุบันสำนักงานสถิติแห่งชาติได้ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว แต่อาจจะไม่ได้มีการประชาสัมพันธ์ไปยังหน่วยงานต่างๆ อย่างทั่วถึง 2. ควรสร้างความเข้าใจร่วมกันถึงความสำคัญของตัวชี้วัดด้าน ICT รวมถึงแนวคิด และวิธีการจัดเก็บข้อมูล ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ทั้งนี้ ควรมีเวทีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอ 3. สร้างแนวทางการประสานงาน และการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานหลักและหน่วยงานเจ้าของข้อมูลให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อความสะดวก รวดเร็ว ในการจัดส่ง เชื่อมโยงข้อมูล 4. ข้อมูลทางด้านสถานภาพ ICT ควรจะมีการเผยแพร่สู่สาธารณชน เพื่อการใช้ประโยชน์ในวงกว้าง เช่น website หรือหนังสือ (ทางสำนักงานสถิติแห่งชาติ มีการทำ website แล้ว แต่อาจไม่ได้รับการประชาสัมพันธ์เท่าที่ควร) 5. ส่งเสริมให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำข้อมูลไปใช้เพื่อการประเมินวัดความก้าวหน้าด้าน ICT และ/หรือนำไปใช้ประกอบการจัดทำนโยบาย แผนกลยุทธ์ แผนการตลาด เป็นต้น

54 ดาวน์โหลดเอกสารที่น่าสนใจเพิ่มเติมได้ที่ www.nectec.or.th/pld/
- Thailand ICT Indicators รายงานการสำรวจกลุ่มผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ICT Uptake 2004: Thailand in the Information Age - Thailand ICT Indicators Series I ( )

55 WSIS Plan of Action – Indicators
Basic Telecommunications (4) -          Teledensity -          Number of ICT backbone providers -          Full capacity of backbone system of data transmission -          Traffic level (Gbps) at peak times that each Internet Exchange Points can support In the revised version of my paper you can go through all 25 issues. I will show only the first 4 issues here. For Basic Telecommunications, there are 4 indicators - telephone penetration or teledensity - number of ICT backbone providers which can support basic telecom services - capacity of the backbone - traffic level of the Internet exchange point On the basic access to the Internet, there are 21 indicators! Example (2-3 items) - computer users, Internet users, public Internet access, telecenter, schools, students, education budget in ICT.

56 WSIS Plan of Action – Indicators
Basic Access to the Internet (21) -          Number of computer users by gender, age, education, income -          Number of Internet users by gender, age, education, income -          Number of households with a computer -          Number of households with Internet access -          Number of public Internet access -          Number of districts with telecenter -          Number of district with Websites -          Number of communities that can apply ICT to their local economy -          High-speed Internet access penetration -          Number of PCs in rural areas -          Number of local communities with Websites -          Expenditure on research and development in ICT infrastructure and applications -          Number of schools with computer and Internet access -          Number of schools with Websites -          Number of students per computer -          Average number of connected computers in each school -          Number of schools with ICT implementation plan -          Percentage of a national education budget is allocated for ICT -          Number of universities with high-speed Internet connection -          Number of household having teleworking -          Investment on ICT infrastructure by government and private sector

57 WSIS Plan of Action – Indicators
Affordable Access Devices (5) -          Number of locally assembled lower-cost PCs -          Ratio of locally assembled PCs usage -          Expenditure on research and development in affordable ICT equipment -          Presence of research on non-text based computer interfaces -          Expenditure on research and development in ICT accessibility for disadvantaged groups

58 WSIS Plan of Action - Indicators
Human Capacity Building (19) -          Number of ICT based lessons in the curriculum relative to the overall curriculum time for the subject -          Percentage of educational content covered by ICT based instructional materials -          Number of ICT training courses for teachers -          Number of teachers with IT access and utilizing IT as educational tools -          Number of ICT related curriculums in universities -          Percentage of ICT management courses -          Number of schools with Websites produced by students -          Number of students who demonstrate only basic ICT skills -          Number of students who demonstrate advanced ICT skills -          Number of hours per week for ICT-aided instruction -          Number of people receiving ICT training courses from the Ministry of Labor -          Number of online courses -          Number of ICT related curriculum for distance learning -          Number of workers who graduated from ICT distance learning programmes -          Number of universities that have ICT programmes link with international educational institutions -          Number of ICT training course with international cooperation -          Number of volunteer programmes on ICT training -          Number of ICT related Train-the-trainer programmes -          Number of programmes to eradicate illiteracy by using ICTs There are 19 indicators on the Human Capacity issues - ICT assisted learning - training courses - e-learning - workforce skill development There are 5 indicators on the affordable access devices - locally assembled low-cost PC - research on non-text based user interface -R&D expenditure in ICT accessibility for disadvantaged groups This list is very preliminary but it is the first time that we analyze the plan fully. The list goes on - please see Annex A in my paper.

59 Coming Up การเสวนา "ความพร้อมของระบบการจัดทำตัวชี้วัดด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย"


ดาวน์โหลด ppt presented by Chadamas Thuvasethakul NECTEC Thailand

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google