งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ด. ช. ภานุเดชขัดอุโมงค์ เลขที่ 1 ด. ช. นันทวัฒน์ ลิยอง เลขที่ 9 ด. ช. วสันต์ นามะยอม เลขที่ 12 ด. ช. ศักรินทร์ ทาแกง เลขที่ 14 ด. ช. สุทธิภัทร ปัญจมา เลขที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ด. ช. ภานุเดชขัดอุโมงค์ เลขที่ 1 ด. ช. นันทวัฒน์ ลิยอง เลขที่ 9 ด. ช. วสันต์ นามะยอม เลขที่ 12 ด. ช. ศักรินทร์ ทาแกง เลขที่ 14 ด. ช. สุทธิภัทร ปัญจมา เลขที่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ด. ช. ภานุเดชขัดอุโมงค์ เลขที่ 1 ด. ช. นันทวัฒน์ ลิยอง เลขที่ 9 ด. ช. วสันต์ นามะยอม เลขที่ 12 ด. ช. ศักรินทร์ ทาแกง เลขที่ 14 ด. ช. สุทธิภัทร ปัญจมา เลขที่ 18

2

3 เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ นิยมนำมาใช้งานด้านมัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไป ยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียง ระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความ ตื่นเต้น

4 0 เป็น เสียงที่แผ่วเบาที่สุดที่หูมนุษย์ได้ยิน 30 เป็น เสียงกระซิบ หรือเสียงในห้องสมุดที่เงียบสงัด 60 เป็น เสียงพูดคุยตามปกติ เสียงจักรเย็บผ้า หรือเสียง พิมพ์ดีด 85 เป็น เสียงตะโกนข้ามเขา หรือพื้นที่โล่งกว้าง เพื่อให้ได้ยิน เสียงสะท้อนของตนเองกลับมา 90 เป็น เสียงเครื่องตัดหญ้า เสียงเครื่องจักรในโรงงาน หรือ เสียงรถบรรทุก ( ไม่ควรได้ยินเกินวันละ 8 ชม.) 100 เป็น เลื่อยไฟฟ้าหรือเครื่องเจาะที่ใช้ลม : Pneumatic Drill ( ไม่ควรได้ยินเกินวันละ 2 ชม.) 115 เป็น เสียงระเบิดหิน เสียงในร็อคคอนเสิร์ต หรือเสียงแตร รถยนต์ ( ไม่ควรได้ยินเกินวันละ 15 นาที ) 140 เป็น เสียงยิงปืน เสียงเครื่องบินเจ็ต ซึ่งเป็นเสียงที่ทำให้ ปวดหู และอาจทำให้หูเสื่อมได้ แม้ได้ยินเพียงครั้งเดียวก็ ตาม ดังนั้นผู้ที่จำเป็นต้องอยู่กับเสียงในระดับนี้ จะต้องสวม อุปกรณ์ป้องกันหูเสมอ

5 การนำเสียงจากธรรมชาติมาใช้งานบน คอมพิวเตอร์ต้องผ่านกระบวนการบันทึก (Record) จัด (Manipulate) และเล่นเสียง (Playback) แต่ก่อนที่จะผ่านกระบวนการเหล่านี้ จำเป็นต้องรับและแปลงเสียงให้อยู่ในรูปแบบที่ เหมาะสม โดยใช้เครื่องมือสำหรับประมวลผล และแปลงเสียงต้นฉบับให้เป็นสัญญาณทาง ไฟฟ้า ได้แก่ ไมโครโฟน (Microphone) เครื่อง ขยายเสียง (Amplifier) ลำโพง (Speaker) และ อุปกรณ์ปรับแต่งเสียง (Audio Mixer)

6 การ์ดเสียง (Sound Card) เป็นอุปกรณ์ควบคุมเสียงที่ สามารถเพิ่มลงในสล็อต PCI หรือ PCI Express บน เมนบอร์ดของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยจะเชื่อมต่อละทำงาน ร่วมกับอุปกรณ์ต่างๆ บนคอมพิวเตอร์ เช่น ซีพียู และลำโพง แต่ในปัจจุบันได้มีการผลิตการ์ดเสียงที่ใช้เชื่อมต่อจาก ภายนอกผ่านพอร์ตต่างๆได้ เช่น พอร์ต USB หรือ PCMCIA เป็นต้น

7 การประมวลผลไฟล์เสียง (processing Sound) คือ กระบวนการต่างๆตั้งแต่นำ ไฟล์เสียงเข้าสู่โปรแกรมสำหรับสร้าหรือ แก้ไขเสียงโดยเฉพาะ เช่น โปรแกรม MidiNotate เป็นต้น

8 การบันทึกเสียง เป็นการนำเสียงที่ได้จากการพูด การเล่นเครื่องดนตรีหรือเสียงจากแหล่งต่างๆ เช่นเสียงน้ำตก ฟ้าร้อง หรือเสียงสัตว์ มาทำการ จัดเก็บลงในหน่วยความจำ เพื่อนำไปใช้งานตาม ต้องการ ตัวอย่างเช่น การบันทึกเสียงบรรยาย ของนักพากย์ เพื่อใช้ในการเพิ่มเสียงลงใน ภาพยนตร์การ์ตูน เป็นต้น

9 การแก้ไขไฟล์เสียง (Sound Editing) คือ การตัดต่อ และการปรับแต่งเสียง โดยสิ่ง สำคัญในการแก้ไขเสียง คือ การจัดสรร เวลาของการแสดงผลให้สัมพันธ์กับ องค์ประกอบต่างๆ ที่ใช้งานร่วมกับเสียง เช่น การตัดต่อเสียงสำหรับนำมาใช้ในการ นำเสนอไฟล์วีดีโอ ผู้ตัดต่อจะต้องแสดง ภาพของวีดีโอให้สัมพันธ์กับเสียง เป็นต้น

10 วัตถุประสงค์หลักในการนำเสียงเข้ามา ประยุกต์ใช้กับงานด้านมัลติมิเดีย คือ เพื่อให้ เข้าใจถึงเนื้อหาที่ต้องการนำสนอและลดการ สื่อสารข้อมูลในรูปแบบที่ซ้ำซ้อน (Redundancy) รวมถึงเพิ่มโอกาสการสื่อสาร ข้อมูลผ่านช่องทางที่หลากหลายยิ่งขึ้นก่อนจะ นำเสียงมาใช้ควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับเสียง ประเภทต่างๆ

11 เสียงที่นำมาใช้กับงานด้านมัลติมิเดียมีหลาย ประเภท ได้แก่ เสียงพูด (Speech) เสียงเพลง (Music) เสียงเอฟเฟ็กต์ (Sound Effect)

12 1. ตัดสินใจว่าจะใช้เสียงชนิดใดกับงานที่ออกแบบไว้ เช่น เพลง เสียงพิเศษประกอบการนำเสนอ หรือ เสียงพูด 2. เป็นต้น ซึ่งต้องกำหนดตำแหน่งหรือเวลาในการแสดง เสียงให้เหมาะสมด้วย 3. ตัดสินใจว่าจะใช้เสียงแบบมิดี้ หรือใช้เสียงแบบ ดิจิตอลที่ไหนและเมื่อไหร่ 4. พิจารณาว่าจะสร้างข้อมูลเสียงขึ้นมาเองหรือซื้อ สำเร็จรูปมาใช้งานจึงจะเหมาะสม 5. นำไฟล์เสียงมาทำการปรับแต่งให้เหมาะสมกับมัล ติมิเดียที่ออกแบบ แล้วนำมารวมเข้ากับงานมัลติมิเดีย ที่ทำการผลิต 6. ทดสอบการทำงานของเสียงให้มั่นใจว่า เสียงที่ นำเสนอมีความสัมพันธ์กับภาพในงานมัลติมเดียที่ ผลิตขึ้น หากไม่สัมพันธ์กันต้องทำตามขั้นตอนที่ 1 ถึง 4 ซ้ำแล้วให้ทดสอบใหม่จนกว่าจะได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด

13


ดาวน์โหลด ppt ด. ช. ภานุเดชขัดอุโมงค์ เลขที่ 1 ด. ช. นันทวัฒน์ ลิยอง เลขที่ 9 ด. ช. วสันต์ นามะยอม เลขที่ 12 ด. ช. ศักรินทร์ ทาแกง เลขที่ 14 ด. ช. สุทธิภัทร ปัญจมา เลขที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google