งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อิทธิพลของระดับโปรตีน คาร์โบไฮเดรตที่ไม่ใช่เยื่อใย และสัดส่วน MP/NELในอาหารสูตรรวมที่มีการใช้เปลือก-ซังข้าวโพดหมัก เป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก ต่อการให้ผลผลิตในโคนม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อิทธิพลของระดับโปรตีน คาร์โบไฮเดรตที่ไม่ใช่เยื่อใย และสัดส่วน MP/NELในอาหารสูตรรวมที่มีการใช้เปลือก-ซังข้าวโพดหมัก เป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก ต่อการให้ผลผลิตในโคนม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อิทธิพลของระดับโปรตีน คาร์โบไฮเดรตที่ไม่ใช่เยื่อใย และสัดส่วน MP/NELในอาหารสูตรรวมที่มีการใช้เปลือก-ซังข้าวโพดหมัก เป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก ต่อการให้ผลผลิตในโคนม Effects of protein, non fibrous carbohydrate levels and a ratio of metabolizable protein to net energy in TMR feeding based on corn cob-husk silage as roughage source on dairy cattle performance วาสนา ศิริแสน, วิโรจน์ ภัทรจินดา พรชัย ล้อวิลัยและมนต์ชัย ดวงจินดา ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จ. ขอนแก่น บทนำ วิธีการดำเนินงานวิจัย โคนมเป็นสัตว์ที่สามารถนำใช้อาหารหยาบที่มีคุณภาพต่ำเปลี่ยนเป็นผลผลิตน้ำนมได้ โดยเฉพาะเปลือก-ซังข้าวโพดหมัก ซึ่งเป็นผลพลอยได้ทางการเกษตรและอุตสาหกรรม แต่โคนมต้องการทั้งอาหารเยื่อใย และอาหารคาร์โบไฮเดรตที่ไม่ใช่เยื่อใย (Non fibrous carbohydrate, NFC) เพื่อเป็นแหล่งพลังงานแก่ตัวโคและจุลินทรีย์ในกระเพาะหมัก และรักษาสมดุลการหมักย่อยในกระเพาะหมัก รวมทั้งโคนมยังต้องการโปรตีนและพลังงานที่สมดุลเพื่อตอบสนองต่อการให้ผลผลิตที่ดี โดยเฉพาะพลังงานจะใช้ค่า NEL (Net energy for lactation) ซึ่งเป็นการคำนวณพลังงานที่ละเอียดขึ้นตรงกับความต้องการของโค และโปรตีนจะพิจารณาถึงค่า MP (Metabolizable protein) ซึ่งเป็นส่วนของโปรตีนและกรดอะมิโนที่ถูกย่อยและนำใช้ได้จริงในส่วนของลำไส้เล็ก ดังนั้นจึงมีการศึกษาเพื่อหาความต้องการโภชนะของโคนมที่เหมาะสมต่อการให้ผลผลิต ร่วมกับการใช้ประโยชน์จากเปลือก-ซังข้าวโพดหมัก เพื่อให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะเป็นแนวทางในการลดต้นทุนค่าอาหาร สัตว์ทดลองใช้โคนม HF ที่มีวันให้นมเฉลี่ย 80 ± 40 วัน น้ำหนักตัวเฉลี่ย 450 ± 50 กก. แผนการทดลอง ใช้แผนการทดลองแบบ 3x3 Factorial in RCBD อาหารทดลอง อาหารTMR 9 สูตร การเก็บข้อมูล บันทึกปริมาณน้ำนมที่รีดในแต่ละวัน บันทึกการกินอาหารและอาหารเหลือในแต่ละวัน เพื่อวิเคราะห์การกินได้สิ่งแห้ง และบันทึกอุณหภูมิความชื้นของโรงเรือน เพื่อหาค่าTHI ที่ทีผลต่อการทดลอง การเก็บตัวอย่าง ศึกษาการย่อยได้โดยใช่ Cr2O3 เป็นตัวชี้วัด และเก็บตัวอย่างเลือดเพื่อหากลูโคสและยูเรียในเลือด การวิเคราะห์ทางสถิติ นำข้อมูลมาวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม และวิเคราะห์ Response surface test และสร้างสมการทำนาย z = a+b1x + b2 x2 + b3 y + b4 y2 + b5 xy + εijk ตารงที่ 2 ผลของระดับโปรตีน และ NFC ต่อสมรรถนะการผลิตรวม การย่อยได้โภชนะ และการเปลี่ยนแปลงกลูโคสและยูเรียในเลือด ตารางที่ 1 อาหาร TMR และองค์ประกอบทางเคมี CP CP CP12.5 NFC30 NFC27 NFC24 NFC30 NFC27 NFC24 NFC30 NFC27 NFC T T T T T T T T T9 เมล็ดฝ้าย กากถั่วเหลือง44% กากเบียร์แห้ง เมล็ดข้าวโพด รำอ่อน กากน้ำตาล มันสำปะหลัง วิตามินแร่ธาตุรวม เปลือกซังข้าวโพดหมัก รวม รายการ CP CP CP12.5 NFC30 NFC27 NFC24 NFC30 NFC27 NFC24 NFC30 NFC27 NFC24 SEM (P < ) T T T T T T T T T X Y Z DMItmr,Kg/d ab 13.8a 10.2b ab 13.3ab 11.4ab 13.1ab b 13.3ab ns ns ** Bwchange,Kg/d ns ns ns Milk4%FCM ns ns ns Milk fat, % ns ns ns Milk CP,% ns ns ns Milk TS,% ns ns ns X= CP, Y= NFC, Z = CP x NFC, ns = not significant, *P=0.1, **P<0.05, ***P<0.01 ผลของระดับโปรตีน และ NFC ต่อการย่อยได้โภชนะ CP * ns ns Fat c bc c c bc ab 86.6c c a ns *** ns Ash ns ns * ผลของระดับโปรตีนและ NFC ต่อการเปลี่ยนแปลงกลูโคสและยูเรียในเลือด GLU 0, mg/dl ns ns ns GLU 3, mg/dl b a ab 51.5b a a ab 57.5ab 54.3ab ns ** ns BUN 0, mg/dl * ns ns BUN 1, mg/dl * ns ns BUN 2, mg/dl a ab a ab a ab 12.3b ab 15.1ab *** ns ns BUN 3, mg/dl * ns ns องค์ประกอบทางเคมีของอาหาร TMR โดยการคำนวณ (%DM) MP/NEL,g/Mcal CP,(%) RUP, ( % ) TDN, (%) NEL, Mcal/Kg Fat, (%) ADF,(%) NDF,(%) NFC, (%) Ca(%) P(%) สรุปผลการทดลอง การทดลองพบว่าที่ระดับโปรตีน 13 % ร่วมกับ NFC ที่ระดับ % ทำให้การกินได้สิ่งแห้งเพิ่มขึ้น แต่ไม่มีผลต่อผลผลิตน้ำนม และองค์ประกอบน้ำนม การย่อยได้ของโปรตีนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 11.4% ที่โปรตีน 16.5% และ NFC 24% ทำให้การย่อยได้ของไขมันเพิ่ม 6.8 % แต่ไม่มีผลต่อการย่อยได้ของ DM, GE, NDFและ ADF การเพิ่ม NFC ช่วยทำให้การใช้กลูโคสดีขึ้นที่ชั่วโมงที่ 3 ส่วนการเพิ่มโปรตีนมีแนวโน้มทำให้ค่าBUNต่างกันในทุกชั่วโมงโดยเฉพาะชั่วโมงที่ 2 สัดส่วน MP/NELที่ระดับ g/Mcal เหมาะสมต่อการกินได้ และประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ดังนั้นโปรตีนระดับ12.5% ร่วมกับ NFCระดับ 24-27% หรือโปรตีนระดับ 16.5% ร่วมกับ NFCระดับ 24 % จะเหมาะสมต่อการใช้เปลือก- ซังข้าวโพดหมักเป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก ภาพแสดง ความสัมพันธ์ของระดับโปรตีน และ NFC ต่อการกินสิ่งแห้งอาหาร TMR จากการทำนายด้วยสมการ Response surface test, DMI TMRBW = Dry matter intake of % body weight.


ดาวน์โหลด ppt อิทธิพลของระดับโปรตีน คาร์โบไฮเดรตที่ไม่ใช่เยื่อใย และสัดส่วน MP/NELในอาหารสูตรรวมที่มีการใช้เปลือก-ซังข้าวโพดหมัก เป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก ต่อการให้ผลผลิตในโคนม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google