งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กรอบยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาสุขภาพ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ( 5 จังหวัด ) ปี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรอบยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาสุขภาพ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ( 5 จังหวัด ) ปี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กรอบยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาสุขภาพ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ( 5 จังหวัด ) ปี 2556-2558

2 ข้อมูลทั่วไปเขต 8 ข้อมูลทั่วไปเขต 8
เนื้อที่ 20, ตร.กม. ข้อมูลทั่วไปเขต 8 ข้อมูลทั่วไปเขต 8 56 อำเภอ 413 ตำบล 2,916 หมู่บ้าน 78 เทศบาล (นคร 3, เมือง 12, ตำบล 63 แห่ง) 368 อบต. 963,646 หลังคาเรือน 3,493,084 คน คน : ตารางกิโลเมตร ประชากร 3,493,084 คน (ชาย 1,720,535 คน หญิง 1,772,549 คน)

3 หน่วยบริการและกำลังคน
- แพทย์ ,008 คน (1:3,472) - ทันตแพทย์ คน (1:13,011) - เภสัชกร คน (1:8,333 ) - พยาบาล ,753 คน (1:451 ) - นักกายภาพ คน (1:112,903) - นักจิตวิทยา คน(1:48,611 ) สถานบริการสาธารณสุข - รพศ/รพท แห่ง - รพช แห่ง - รพ.สต แห่ง

4

5 ผลกระทบต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
บาดเจ็บ เสียชีวิต ปัตตานี ยะลา นราธิวาส 4 อำเภอ จ.สงขลา รวม ข้อมูล 30 ต.ค. 55 5

6 ผลกระทบต่อหน่วยงานสาธารณสุข
วางระเบิด วางเพลิง สถานีอนามัย/บ้านพัก(รวม) ปัตตานี แห่ง ยะลา แห่ง นราธิวาส แห่ง 4 อำเภอ จ.สงขลา แห่ง ข้อมูล ณ 30 ต.ค.2555 6

7 กลไกการดำเนินงานสุขภาพในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
มีแผนงบประมาณเฉพาะพื้นที่ ตั้งแต่ปี 2549 1.เขตตรวจราชการและคณะกรรมการประสานการพัฒนาสาธารณสุขระดับเขต (คปสข.) 2.ศูนย์บริหารการพัฒนาสุขภาพจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศบ.สต.) ในปี 2550 บอร์ด ศบ.สต.มีผู้ตรวจราชการเขต 12 เป็นประธาน มี นพ.สสจ.สงขลา เป็นผู้อำนวยการ ศบ.สต. 3.สปสช.เขตพื้นที่สงขลา (7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง) กลไก จัดการ

8 ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาสุขภาพ ประชาชนภาคใต้ตอนล่าง ปี 2555-2559
“เป็นเครือข่ายสุขภาพระดับภาคใต้ตอนล่างที่มีสมรรถนะ ในการบริหารจัดการเชื่อมโยงระบบสุขภาพต่างระดับแบบไร้รอยต่ออย่างสมบูรณ์ ระดับนำของประเทศไทยในปี 2559 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ถ่ายทอดนโยบายของ กระทรวงสาธารณสุขไปสู่การปฏิบัติ ให้เกิดผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม 2. กำหนดนโยบายในการพัฒนางาน สุขภาพและระบบบริการสุขภาพ ตลอดจนการแก้ไขปัญหาสาธารณสุข ในภาคใต้ตอนล่าง 3. สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนา ด้านสุขภาพของหน่วยงานและ สถานบริการสาธารณสุขในทุกระดับ Area Health Board

9 ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปี 2556-2558)
เป้าหมาย ปัญหาสุขภาพคนใต้ลดลงแม้ในสถานการณ์วิกฤต ประเด็นปัญหาสุขภาพ ตามบริบทพื้นที่ 1.อนามัยแม่และเด็ก 2.อนามัยช่องปากเด็กวัยเรียน 3.การป้องกันควบคุมโรคNCD 4.เยียวยาจิตใจและคุณภาพชีวิต 5.คุณภาพชีวิตผู้พิการ ผู้สูงอายุ 6.การบำบัดผู้ติดยาเสพติด หลักการ การทำงานร่วมกันของทุกภาคส่วน ศบ.สต. กลไกยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ พัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพ กลยุทธ 1.พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพ (service plan ) 2.พัฒนาระบบสุขภาพที่สอดคล้องกับวิถีชุมชน 3.พัฒนา ระบบบริการปฐมภูมิ (หมอใกล้บ้านใกล้ใจ) 4.พัฒนาระบบบริการที่ตอบสนองต่อเหตุวิกฤต ส่งเสริมการมีส่วนร่วมใน การสร้างเสริมสุขภาพ กลยุทธ 1.พัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้นำศาสนา ภาคประชาชน และท้องถิ่น (ปอเนาะ มัสยิด วัด ส่งเสริมสุขภาพ โรงครัว ฮาลาล) 2.พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพผู้ไปประกอบพิธีฮัจญ์ บริหารจัดการและสนับสนุน กลยุทธ 1.พัฒนาระบบความปลอดภัย 2.พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ (ข้อมูลพื้นฐาน, ติดตามงาน, refer ,VIS ) 3.พัฒนากำลังคนด้านสาธารณสุขและสร้างขวัญกำลังใจ กลไกระดับพื้นที่ การพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอ (อำเภอสุขภาพเข้มแข็ง)

10 การแก้ปัญหาสุขภาพตามบริบทพื้นที่ : เป้า 3 ปี : ตัวชี้วัด
1.อนามัยแม่และเด็ก : MMR < 24/แสน (ปี 55=36, ปี 54=40)(เป้าประเทศ 18) 2.อนามัยช่องปากเด็กวัยเรียน : อัตรา caries free ในเด็ก นร.ป.6 > ร้อยละ40 ( ปัจจุบัน ร้อยละ30) ( 4 กลวิธี : sealant , แปรงฟัน , เคลือบฟลูออไรด์ , ควบคุมอาหารหวาน) 3.การป้องกันควบคุมโรคNCD : DM/HT - ตามเป้าหมายระดับประเทศ 4.เยียวยาจิตใจและคุณภาพชีวิตผู้ได้รับผลกระทบ : เยี่ยมครบ 4 ครั้ง ร้อยละ80 : ผู้พิการจากเหตุไม่สงบได้รับการดูแลองค์รวม ร้อยละ80

11 การแก้ปัญหาสุขภาพตามบริบทพื้นที่ : เป้า 3 ปี : ตัวชี้วัด(ต่อ)
5.คุณภาพชีวิตผู้พิการ ผู้สูงอายุ : - ผู้สูงอายุ - ผ่าตัดต้อกระจก 5,000 ดวงตา /ปี - ฟันเทียม 10 ราย/ทันตแพทย์ /ปี - ผู้พิการ - ร้อยละ80 ผู้พิการติดบ้านได้รับการช่วยเหลือตามชุดสิทธิประโยชน์ - จัดตั้งศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพใน - รพ.สต. อำเภอละ 1 แห่ง - ชุมชน CBR (ศาสนสถาน) จังหวัดละ 1 แห่ง 6.การบำบัดฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด : - หนึ่งอำเภอหนึ่งมัสยิดค่ายบำบัด

12 Short term achievement
หมอใกล้บ้านใกล้ใจ (เฉลี่ย 1: 900) ทำงานกับเครือข่ายภาคประชาชน ดูแลกลุ่มเป้าหมายตามประเด็นปัญหาสุขภาพ 6 ข้อ เพิ่มความครอบคลุมบริการส่งเสริมสุขภาพขั้นพื้นฐาน การปรับปรุงคุณภาพบริการ ลดคิวที่สำคัญ เช่นการผ่าตัดหัวใจแบบเปิด - เดิมรอ 5 ปี (Waiting list = 342 ราย 1,272 วัน) ตั้งเป้าไม่เกิน 1 ปี -> 6 เดือน -> 3 เดือน

13 ของฝาก แปลงแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ ประชาชน ชาวบ้านได้อะไร
ขวัญกำลังใจของผู้ปฏิบัติงาน อย่ายึดติดกรอบวงเงิน ปัญหาเชิงประเด็น “คม ชัด ลึก” และ “ทำได้ วัดผลได้” เป็นรูปธรรม

14

15 เราจะให้บริการดีที่สุด ปลอดภัยที่สุด


ดาวน์โหลด ppt กรอบยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาสุขภาพ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ( 5 จังหวัด ) ปี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google