งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อุดมศึกษากับการวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อุดมศึกษากับการวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อุดมศึกษากับการวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศ
โดย ดร.ประสิทธิ์ ทองไสว สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.)

2 เนื้อหาการบรรยาย นโยบายและการดำเนินงานด้านการวิจัย ของ สกอ.
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการวิจัย การขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย 51-54 กรอบแนวทางการวิจัยที่ควรดำเนินการ 55-59 บทบาทและองค์กรต่างๆ ที่มีภารกิจเกี่ยวกับการวิจัย อื่น ๆ

3 บทบาทของ สกอ.ต่อการวิจัย
โครงสร้างพื้นฐานเพื่อการวิจัย -การผลิตนักวิจัย -ฐานข้อมูล -เครือข่ายสารสนเทศ -วารสาร -เครือข่ายบริหารการวิจัย การวิจัยเพื่อพัฒนา -วิจัยถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน -วิจัยรัฐร่วมเอกชนเชิงพาณิชย์ การบ่มเพาะทางธุรกิจ(business incubator) การบริหารทรัพย์สินทางปัญญา การประเมินศักยภาพงานวิจัย

4 บทบาทของอุดมศึกษา ผลิตกำลังคน ในลักษณะใด
๑) มีศักยภาพเหมาะสมต่อการทำงานในอนาคต(future potential of professional roles and tasks) ๒) เป็นการเตรียมบุคคลที่สอดคล้องกับหน้าที่ในอนาคต(direct preparatory function) ๓) เป็นผู้เชี่ยวชาญหรือมีความชำนาญการระดับสูง(highly specialized) ๔) เป็นคนที่มีความสามารถในการผลิตนวัตกรรมได้(active agents of innovation)

5 หน้าที่ในการผลิตกำลังคน
ความสำเร็จ คือ Smooth transition to employment, Low unemployment ratio, Low ratio of non-regular, employment(occasional, part-time, short-term, self-employment) Success of graduates in vertical terms, Success of graduates in horizontal terms.

6 Global trend Human capability Aging and IT Food security
Global Health Research and Innovation System(GHRIS) Energy ICT, Information and Communication Technologies(4G) Life long learning, E-learning Creative Economic(innovation, IP) Climate change(sea level, maritime city, food production, human health, energy, water)

7 กรอบแนวทางการวิจัย เสนอโดย สำนักพัฒนาบัณฑิตศึกษา(สบว.)
Food & Energy Security Implications of Climate Change Environmental Sustainability under industrialisation Development of New Materials Technology Public Health and Emerging Diseases

8 National Innovation System(NIS)
R&D expenditure R&D performance Technology policy Human capital development technology transfer Entrepreneurial climate

9 National Innovative Capacity(NIC)
To produce and commercialize R&D Depending on: 1) innovational structure 2) industrial cluster 3) the strength of the linkages

10 Sweden’s model Swedish R&D policy 1997-1999
University & industries collaboration Patenting and commercialization of research The Swedish National Board for Industrial and Technical Development, Qualified industrial scientific research activities, Establish a state-of-the-art of Swedish scientific research.(Swedish publication in SCI 8,760(1986) 11,002(1994)

11 China’s Model Innovation oriented by 2020
Innovaion center of the world Improve research system: quality & effectiveness(collaboration and partnership) Knowledge is the source of wealth Technology-led economic growth Laws Economic growth rate > 10%

12 เมืองวิทยาศาสตร์อมตะ(Amata Science City)
บันทึกข้อตกลง 7 มค.53 เพื่อให้เป็นเมืองการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี สำหรับต่อยอดการวิจัย และพัฒนาประเทศ หน่วยงานรับผิดชอบ สวทช. บริษัท อมตะฯ เริ่มดำเนินการ 2532 นิคมอุตสาหกรรมที่ให้บริการครบวงจร โรงงานอุตสาหกรรม 700 โรงงาน เป็นบริษัทต่างชาติมากกว่า 30 ประเทศเป็นฐานผลิตอุตสาหกรรมยานยนต์ เหล็ก ไฟฟ้า เคมีและสินค้าอุปโภคบริโภค การพัฒนากลุ่มองค์ความรู้(เกษตร แพทย์ ชีวภาพ ยานยนต์ เทคโนโลยีสารสนเทศ พลังงานทดแทน และภาษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยเข้าร่วมโครงการ(จุฬาฯ เกษตร มศว. บูรพา พระนครเหนือ ธนบุรี ลาดกระบัง และ AIT)

13 นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย ๕๑-๕๔
สร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาสังคม การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาทางวิทยาการและทรัพยากรบุคคล การเสริมสร้างและพัฒนาทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การบริหารจัดการความรู้ ผลงานวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ทรัพยากร และภูมิปัญญาของประเทศ สู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์และสาธารณะ

14 กลุ่มเรื่องที่ควรวิจัยเร่งด่วน
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง ความมั่นคงของรัฐและการเสริมสร้างธรรมภิบาล การปฏิรูปการศึกษา การจัดการน้ำ ภาวะโลกร้อนและพลังงานทางเลือก การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออกและลดการนำเข้า การป้องกันโรคและการรักษาสุขภาพ การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีใหม่และเทคโนโลยีที่สำคัญเพื่ออุตสาหกรรม การบริหารจัดการการท่องเที่ยว สังคมผู้สูงอายุ ระบบโลจิสติกส์

15 ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ ทิศทางการวิจัยกับ OECD, AEC การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
Creative economy Research collaboration & partnership Cluster research

16 การดำเนินการวิจัยในพื้นที่
เริ่มใหม่ หรือ ต่อยอด ควรมีฐานข้อมูล นักวิจัย เรื่องวิจัย หน่วยงานที่เข้าไปมักเสนอให้ทำใหม่ ไม่ต่อยอด วิธีแก้ไข review งานวิจัยที่มีก่อน ใช้หลักการ agenda function area based

17 ข้อเสนอ ควรวิจัยนักวิจัยไทยก่อน
การค้นหางานวิจัย ไม่ค่อยพบ กรณีวิจัยสาธารณะ ชื่อยาว มีอายุนาน ค้นที่


ดาวน์โหลด ppt อุดมศึกษากับการวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google