งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คำแนะนำการออกกำลังกาย ในผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คำแนะนำการออกกำลังกาย ในผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คำแนะนำการออกกำลังกาย ในผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ
ผศ. นพ. วิศาล คันธารัตนกุล แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์ อาจารย์พิเศษ คณะแพทยศาสตร์ รพ. รามาธิบดี ม.มหิดล

2 หัวข้อ ปัญหาสุขภาพก่อนออกกำลังกาย การออกกำลังกายในผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ

3 ก่อนเป็นโรค เจ็บป่วย/เป็นโรค ภาวะสุขภาพ การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ การออกกำลังกายเพื่อการรักษา ความรู้ด้านการออกกำลังกาย ความรู้ด้านการออกกำลังกาย + โรค ความแนะนำที่เหมาะสม การตรวจประเมินที่เหมาะสม

4 แนวคิด สอบถามสุขภาพ และปัจจัยเสี่ยง พิจารณาอายุ และสมรรถภาพร่างกาย
อายุมาก, สมรรถภาพต่ำมีปัจจัยเสี่ยง อายุน้อย, ไม่มีปัจจัยเสี่ยง ระวัง/ประเมินละเอียดหรือพบแพทย์ แนะนำการออกกำลังกายตามสมรรถภาพ

5 รายบุคคล ประเมินสุขภาพ:PAR-Q มีปัญหา
แนะนำการออกกำลังกาย เมื่อมีปัญหาสุขภาพ ไม่มีปัญหา ประเมินสมรรถภาพ:ด้วยตนเอง/จนท. สร้างพฤติกรรม การออกกำลังกาย แนะนำการออกกำลังกายตามสมรรถภาพ ให้ความรู้ที่เหมาะสม - การบาดเจ็บ รูปแบบการออกกำลังกาย(ทางเลือก)

6 กลุ่มที่ 1 การประเมินความเสี่ยงในผู้ที่เสมือนสุขภาพดี
กลุ่มที่ 1 การประเมินความเสี่ยงในผู้ที่เสมือนสุขภาพดี เด็ก ผู้ใหญ่เพศชายอายุ < 45 ปี และ เพศหญิงอายุ < 55 ปี ไม่มีอาการของโรคหัวใจหรือปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ผู้ใหญ่เพศชายอายุ > 45 ปี และ เพศหญิงอายุ > 55 ปี ไม่มีอาการของโรคหัวใจหรือมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ < 2 ข้อ คำแนะนำ: ใช้ PARQ

7 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะหลอดเลือดแข็งตัว
ปัจจัยต้นเหตุ การสูบบุหรี่ ภาวะความดันโลหิตสูง ภาวะไขมันในเลือดสูง ภาวะไขมันในเลือดชนิด HDL ต่ำ โรคเบาหวาน

8 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะหลอดเลือดแข็งตัว
ปัจจัยหนุน ภาวะน้ำหนักเกินและความอ้วน การไม่ค่อยเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย เพศชาย ประวัติโรคหลอดเลือดหัวใจในครอบครัว ภาวะเศรษฐานะ ภาวะทางสังคมและจิตใจ ความผิดปกติของอินซูลิน

9 กลุ่มที่ 2: มีความเสี่ยง/เป็นโรคหัวใจ
ทราบว่าเป็นโรคหัวใจ ผู้ใหญ่เพศชายอายุ > 45 ปี และ เพศหญิงอายุ > 55 ปี ไม่มีอาการของโรคหัวใจหรือมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ < 2 ข้อ คำแนะนำ: หากออกกำลังกายอย่างหนัก ควรจะได้ทำการทดสอบสมรรถภาพหรือเริ่มการออกกำลังกายเบา ๆ

10 Metabolic Syndrome

11 Metabolic syndrome เกณฑ์วินิจฉัย: WHO 1999, NCEP ATPIII 2001, IDF 2005, AHA&NHLBI 2005 International Diabetes Federation (IDF): abdominal obesity + อย่างน้อย 2 ใน 4 ข้อ ( TG > 150 mg/dL, HDL-chol < 40 mg/dL in males or < 50 mg/dL in females, BP > 130/85 mmHg or on anti-HT drug, FBS > 100 mg/dL Abdominal obesity: รอบเอว > 90, 80 cm ในชายและหญิง ตามลำดับ

12 NCEP, ATP III JAMA 2001; 285 (19):

13 1000 2000 3000 Hypothetical Dose-Response for Exercise induced changes
in selected CHD risk factors and CHD Response % Coronary Blood Flow 20 HDL-C 40 60 CHD Mortality 80 BP Insulin Resistance 100 Dose (volume) of Exercise per Week (Kcal) Intensity x Duration x Frequency Source: Haskell (2001)

14 N Engl J Med 349;5 july 31, 2003

15 Value of EST in asymptomatic ind.

16 N Engl J Med 349;5 july 31, 2003

17 การทดสอบสมรรถภาพร่างกายพร้อมคลื่นไฟฟ้า
ผู้ที่มีความเสี่ยงปานกลาง (ความเสี่ยงอยู่ระหว่าง 6 – 20 % ต่อปี) นั้นจำเป็นต้องการการทดสอบเพิ่มเติมโดยแนะนำการตรวจ 4 ชนิดคือ การทดสอบสมรรถภาพร่างกายพร้อมคลื่นไฟฟ้า การตรวจคลื่นความถี่สูงของเส้นเลือดคาโรติด การตรวจ coronary artery calcium score การตรวจ Ankle-Brachial Indexes (ABI) N Engl J Med 349;5 july 31, 2003

18 N Engl J Med 349;5 july 31, 2003

19 N Engl J Med 349;5 july 31, 2003

20 N Engl J Med 349;5 july 31, 2003

21 Ann Intern Med. 2004;140:W9-W24.

22

23 (Circulation. 2004;110: )

24

25 Exercise purposes Physiology & Bl. chem FATNESS FITNESS

26 FITNESS

27 Predicted likelihood of improved survival
per 1-MET higher maximal exercise capacity Study Percent Blair, et al. (1989) Dorn, et al. (1999) 8-14 Myers, et al. (2002) CVD Normal

28 Exercise to increase fitness
เพิ่มความทนของระบบหัวใจหลอดเลือดและหายใจ (cardiorespiratory endurance) = Aerobic exercise F = ประมาณสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละนานกว่า 20 นาที I = ระดับชีพจรมากกว่าหรือเท่ากับ % ของชีพจรสูงสุด กิจกรรมที่ทำต่อเนื่องและเหนื่อยจนพอคุยได้ (conversational dose) T = เดิน วิ่ง กระโดดเชือก ขี่จักรยาน ว่ายน้ำ เล่นกีฬาที่หนักปานกลาง

29 FATNESS Weight & BMI Body Fat

30 CVD risk in Asia-Pacific: abdominal obesity International Obesity TaskForce, Gill TP. Asia Pacific J Clin Nutr 2001; 10: 85-89

31 Treatment goal Weight reduction 10 % in 6 months Rate 1-2 lb/wk
Energy def = K/day a loss of between 26 and 52 pounds. However, the average weight loss actually observed over this time is between 20 and 25 pounds. A greater rate of weight loss does not yield a better result at the end of 1 year.

32

33 Calorie needs to lose weight
ลดน้ำหนัก 1 กิโลกรัม จะต้อง กำไรการใช้พลังงานเท่ากับ 8000 แคลอรี หากต้องการลด 0.5 กก. ใน 10 วัน เท่ากับต้องการกำไรพลังงาน 400 กิโลแคลอรี: ลดการรับประทาน 200 กิโลแคลอรี เพิ่มการใช้พลังงาน 200 กิโลแคลอรี

34 Caloric deficit 400 kcal/day

35

36 การออกกำลังกายในผู้ป่วยภาวะกระดูกและกล้ามเนื้อ
การออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวาน การออกกำลังกายในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง


ดาวน์โหลด ppt คำแนะนำการออกกำลังกาย ในผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google