งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทีมเบาหวานโรงพยาบาลลำปาง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทีมเบาหวานโรงพยาบาลลำปาง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทีมเบาหวานโรงพยาบาลลำปาง
Smile DM ทีมเบาหวานโรงพยาบาลลำปาง

2 4.กระบวนการเพื่อให้ได้คุณภาพ 5.ระบบ งานที่เกี่ยวข้อง 6.แผน พัฒนา
1.บริบท 2.ประเด็นสำคัญ 3.KPI 4.กระบวนการเพื่อให้ได้คุณภาพ 5.ระบบ งานที่เกี่ยวข้อง 6.แผน พัฒนา จำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทุกปี Top 2 OPD ภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายสูง HbA1C >7% เกิน 50% รอบเอว, BMI ผู้ป่วยเบาหวานที่มี HbA1C < 7 % > 45 % ผู้ป่วยที่เกิด hypoglycemia ลดลง10 % ประชากรอายุ > 35 ปีได้รับการคัดกรองเบาหวาน > 60% อัตราการ readmit ใน 28 วัน ลดลง 30 % ผู้ป่วยเบาหวานที่มี LDL < 100 mg% > 70 % ผู้ป่วยเบาหวานที่มี BP < 130/80 mmHg > 70 % ความร่วมมือในการใช้ยา > 70 % ผู้ป่วย Amputation < 1 % ผู้ป่วยเบาหวานเกิด stroke ลดลง 5 % พฤติกรรมการดูแลตนเองผู้ป่วยเบาหวาน > 80 % การค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ การดูแลตามมาตรฐานโดยสหสาขาวิชาชีพ การดูแลภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลัน Empowerment ผู้ป่วยและญาติ การดูแลตาม Patient Care process ER ดูแล Hypoglycemia ดูแล DKA, HHNK ฉีดยา/ทำแผล CPG ดูแล Hypoglycemia ดูแล DKA, HHNK ดูแลแผล/amputation DM-RRT Discharge plan CPG IPD 4.1 กระบวนการดูแลผู้ป่วย Smile DM Lampang Hospital คลินิก จันทร์-พุธ-ศุกร์ GDM Clinic กิจกรรม Self Help Group โรงเรียนเสาธิตบาหวาน Intensive Ambulatory Care Pharmacy Medication Refilled Clinic - Slim Clinic CPG OPD ชุมชน เครือข่ายเบาหวาน ชมรมเบาหวาน คัดกรองเบาหวาน HHC วันเบาหวานโลก ค่ายเบาหวาน ตลาดนัดสุขภาพ ปรับพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง องค์กรท้องถิ่น การคัดกรองกลุ่มเสี่ยง การปรับเปลี่ยน พฤติกรรม -เครือข่ายเบาหวาน นวัต กรรม 4.2 กระบวนการพัฒนาคุณภาพ การตั้งเป้าหมายในการดูแล ตนเองโดยใช้สมุดเบาหวาน โรงเรียนสาธิตเบาหวาน Self help Group,รายบุคคล ฝึกฉีดInsulin/ทำแผล . การดูแลเท้า ก่องข้าวเหนียวพอเพียง ถุงเขียวใบย่อม ต้อมยามาโรงพยาบาล ฉลากยาแบบรูปภาพ สมุดเประจำตัวบาหวาน Empowerment Yearly check up ทีมสหสาขา งานวิจัยในคลินิก . พัฒนารูปแบบการพยาบาล โดยใช้ทฤษฏีของโอเร็ม และคิง HHC ทีมสหสาขาวิชาชีพ ความปลอดภัยด้านยา IC PCU, รพช. วิจัย . Lipid profile BUN Cr Urine microalbuminuria ตรวจเท้า ตรวจตา ตรวจฟัน ทีมแพทย์ พยาบาล เภสัชกร โภชนากร กายภาพบำบัด

3 หลักการและเหตุผล High volume DM เป็นโรคเรื้อรังที่มี Incidence เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2549, 2550 , 2551 คือ 8,544 , 8,771 , 10,900 คน ตามลำดับ High risk ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในระบบต่างๆ จอตาเสื่อม ไตเสื่อม โรคหลอดเลือดสมอง หัวใจขาดเลือด ปลายประสาทเสื่อม High cost เป็นโรคเรื้อรัง ต้องรักษาต่อเนื่อง เบาหวานเป็นโรคเกี่ยวกับพฤติกรรมการปฏิบัติตนให้เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนส่งผลกระทบต่อร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และเศรษฐกิจ

4 เป้าหมาย / ตัวชี้วัด ผู้ป่วยที่เกิด hypoglycemia ลดลง 10 %
ผู้ป่วยเบาหวานที่มี HbA1C < 7 % > 45 % ผู้ป่วยที่เกิด hypoglycemia ลดลง 10 % ประชากรอายุ > 35 ปีได้รับการคัดกรองเบาหวาน > 60% อัตราการ readmit ใน 28 วัน ลดลง 30 % ผู้ป่วยเบาหวานที่มี LDL < 100 mg% > 70 % ผู้ป่วยเบาหวานที่มี BP < 130/80 mmHg > 70 % ความร่วมมือในการใช้ยา > 70 % ผู้ป่วย Amputation < 1 % ผู้ป่วยเบาหวานเกิด stroke ลดลง 5 % พฤติกรรมการดูแลตนเองผู้ป่วยเบาหวาน > 80 %

5 Patient Care Process Entry Assessment Care plan Care delivery
Empowerment Medical record Discharge plan HHC , Health Promotion

6 2 3 1 4 6 5 Lampang Hospital DM care workflow Diabetes
Health education and check medication compliance Diabetes 2 3 Physical examination 1 Check- in DM Clinic 4 6 Appointment Check- out 5 Medication counseling TREATMENT

7 ดำเนินการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป
Entry ดำเนินการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป

8 Assessment and planning
ซักประวัติ/วัด BP ประเมิน BMI/วัดรอบเอว Self help group ตรวจเท้า สอนบริหารเท้า ให้คำแนะนำเรื่องการปฏิบัติตัวรายบุคคล รับวันนัด

9 เภสัชกรประเมินความร่วมมือในการใช้ยา
- ประเมินการใช้ยา ก่อนพบแพทย์ - ให้คำแนะนำเรื่องการใช้ยาหลังพบแพทย์

10 Promote medication compliance
Ambulatory Pharmacy care team Medication compliance checking (Pre-counseling) Medication counseling (Post-counseling) Medication Refilled Clinic Promote medication compliance

11 ตรวจและรักษาภาวะแทรกซ้อนทางตา
แพทย์ตรวจร่างกาย ตรวจและรักษาภาวะแทรกซ้อนทางตา การตรวจทางทันตกรรม

12 CARE PLAN จัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน (CPG) โดยสหสาขาวิชาชีพเป็นมาตรฐานเดียวกัน จัดทำแนวทางการคัดกรอง ขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยง แนวทางการดูแลที่ OPD IPD ER และเมื่อเกิด ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลัน HYPOGLYCEMIA HYPERGLYCEMIA พัฒนารูปแบบการให้บริการ โดยใช้ทฤษฏีการพยาบาล และงานวิจัย จัดทำแนวทางการส่งต่อผู้ป่วย

13 มาตรฐานการดูแลผู้ป่วยเบาหวานจังหวัดลำปาง

14 CPG การดูแลผู้ป่วยเบาหวาน

15 Care Delivery การดูแลโดยสหวิชาชีพ เวชกรรมสังคม แพทย์ พยาบาล PCU
เภสัชกร ทันตแพทย์ นักกำหนดอาหาร Lab พยาบาลให้คำปรึกษา นักกายภาพบำบัด

16 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน
ตนเอง Self care ครอบครัว ชุมชน

17 แกงแค น้ำพริกหนุ่ม น้ำพริกตาแดง
โภชนบำบัด ใช้ Food Model ประกอบการให้ความรู้ เน้นการควบคุมปริมาณข้าว ใช้ก่องข้าว ควบคุม ปริมาณข้าวเหนียว ตัวอย่างอาหารพื้นเมือง แกงแค น้ำพริกหนุ่ม น้ำพริกตาแดง

18 แบบบันทึกผลการควบคุมเบาหวาน
การส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการควบคุมโรค โดยใช้สมุดประจำตัวผู้ป่วยเบาหวาน แบบบันทึกผลการควบคุมเบาหวาน

19 Discharge planning ผู้ป่วยมีปัญหาซับซ้อนประสาน Home Health Care
เยี่ยมบ้าน ประเมินสภาวะผู้ป่วย -ควบคุมอาหารได้ถูกต้อง % -ฉีดอินสุลินถูกต้อง 100%

20 Loss Follow up ระบบข้อมูล มีการติดตาม ทั้งทาง จดหมาย และ โทรศัพท์
พัฒนารูปแบบการจัดเก็บ ข้อมูลด้วย Computer จัดทำทะเบียนผู้ป่วยเบาหวาน ของโรงพยาบาลลำปาง ผู้ป่วย Loss Follow up ลดลง จาก % เป็น 2.23 %

21 ระบบการส่งต่อในเครือข่าย

22 การประเมินภาวะแทรกซ้อน
Medical Record ใบสัมภาษณ์ประวัติผู้ป่วยเบาหวาน การประเมินภาวะแทรกซ้อน FBS ทุกครั้งที่มาตรวจ Hba1c อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี Lipid bun cr Microalbumin urine ปีละ 1 ครั้ง ใบตรวจเท้า

23 Empowerment บุคคลตัวอย่างร่วมเป็นวิทยากร

24 Health promotion จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนสุขภาพ ในกลุ่มเสี่ยง
กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพดีขึ้น - BMI ลดลง % - HbA1Cลดลง 76.92%

25 จัดเบาหวาน Camp ในผู้ป่วย
Health promotion จัดเบาหวาน Camp ในผู้ป่วย เพิ่มเติมความรู้ ออกกำลังกายร่วมกันแบบมีส่วนร่วม เทคนิคการเลือกอาหารที่ เหมาะสม บริหารเท้า

26 ผู้เข้าร่วมโครงการ 189 คน
Health promotion การลดปัจจัยเสี่ยงในการเกิดเบาหวานของเจ้าหน้าที่ ร.พ ลำปาง รูปแบบการดำเนินการ 1. ให้ความรู้เรื่องโรคอ้วน ประเมินสภาพร่างกาย ฝึกทักษะการจัดรายการอาหาร อาหารแลกเปลี่ยน / การอ่านสลากอาหาร จัดตารางการออกกำลังกายให้แต่ละคน คนละ 3 ครั้ง/ สัปดาห์ ตลอด 3 เดือน 5. จัดเตรียมให้มี Buddy คอยตรวจสอบ วัตถุประสงค์ เจ้าหน้าที่กลุ่มเสี่ยงต่อภาวะ Metabalic Syndrome สามารถควบคุมระดับ BMI / เส้นรอบเอวให้ลดลงกว่าเดิมหรืออยู่ในเกณฑ์ปกติ > ร้อยละ 70 โครงการ Slim Clinic ผู้เข้าร่วมโครงการ 189 คน ค่าเฉลี่ย ร้อยละ น้ำหนักลดลง รอบพุงลดลง เปอร์เซ็นต์ไขมัน ลดลง 3.1 กิโลกรัม 5.6 เซนติเมตร 2.3 %

27 Slim clinic

28 การมีส่วนร่วมของชุมชน
พัฒนา ศักยภาพ อสม. / แกนนำสุขภาพ พัฒนาองค์ความรู้ อสม. ( 865 ราย) คัดกรองโรคเบาหวาน / ความดันโลหิตสูง ในหมู่บ้าน เป็นแกนนำในการวิเคราะห์ชุมชนเรื่องการควบคุมและ ป้องกันโรคในชุมชน

29 ถวายความรู้แก่พระภิกษุสงฆ์ แกนนำสุขภาพในเขตภาคเหนือตอนบน

30 จัดกิจกรรมชมรมพิชิตโรคเบาหวาน เดือนละครั้ง
Health promotion จัดกิจกรรมชมรมพิชิตโรคเบาหวาน เดือนละครั้ง นำเสนอเรื่องที่น่าสนใจ ออกกำลังกายโดยการบริหารร่างกายด้วยวิธีต่างๆ ร่วมสังสรรค์ในวันขึ้นปีใหม่ รดน้ำดำหัววันปีใหม่

31 Health promotion การจัดกิจกรรมวันเบาหวานโลกเผยแพร่ความรู้ สู่ประชาชนทั่วไป

32 กิจกรรมตลาดนัดสุขภาพ ในงาน วันคนลำปางห่างไก๋โรค

33 โครงการพัฒนาเครือข่ายผู้ป่วยเบาหวาน ปี 2552
โครงการพัฒนาเครือข่ายผู้ป่วยเบาหวาน ปี 2552 ประโยชน์ : เกิดเครือข่ายผู้ป่วยเบาหวานในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ สอ.บ้านฟ่อน สอ.สบไพร สอ.ต้นมื่น

34 เพิ่มศักยภาพให้ ร.พ ชุมชน
เป็นวิทยากรให้โรงพยาบาลชุมชนจังหวัดลำปาง

35 กิจกรรมร่วมกับชุมชนต่างๆในจังหวัดลำปาง

36 นวัตกรรม ก่องข้าวเหนียวพอเพียง ช่วยควบคุม ปริมาณข้าวเหนียว
เพศชาย 4 ส่วน =320 กิโลแคลอรี เพศหญิง 3 ส่วน =240 กิโลแคลอรี

37 นวัตกรรม ถุงเขียวใบย่อม ต้อมยามาโรงพยาบาล “All in Green bag”
ถุงเขียวใบย่อม ต้อมยามาโรงพยาบาล ผลที่ได้รับ 1. ผู้ป่วยตระหนักในการใช้ยาและนำยามาด้วยทุกครั้ง (ความร่วมมือในการใช้ยาเพิ่มขึ้นจาก 59.54%เป็น 67.82%และ 74.14%) 2. ความพึงพอใจของผู้ป่วยด้านบริการ 85 % 3. ประหยัดยา/ลดจำนวนยาที่สั่งจ่ายเกินวันนัดถึง 490,524 และ 742,058 บาท “All in Green bag” 37

38 นวัตกรรม สติกเกอร์ติดซองยา รพ.ลำปาง ในรายที่อ่านหนังสือไม่ออก เช้า
สติกเกอร์ติดซองยา รพ.ลำปาง ในรายที่อ่านหนังสือไม่ออก เช้า กลางวัน เย็น ก่อนนอน ก่อนอาหาร หลังอาหาร เม็ดยา

39 นวัตกรรม สมุดประจำตัวผู้ป่วยเบาหวาน

40 การทำวิจัยในคลินิก 1. ผลของการให้ความรู้ โดยใช้กิจกรรมกลุ่ม
1. ผลของการให้ความรู้ โดยใช้กิจกรรมกลุ่ม ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง ระดับน้ำตาลในเลือด (FBS) และน้ำตาลเฉลี่ยสะสม (HbA1c) ในผู้ป่วยคลินิกพิเศษเบาหวาน โรงพยาบาลลำปาง 2. การเปลี่ยนแปลงดัชนีความอ้วนของเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลลำปางหลังเข้าร่วมโครงการ Slim clinic 3. ความร่วมมือในการใช้ยาโรคเบาหวานชนิดรับประทานกับการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด :กรณีศึกษา ณ.คลินิกพิเศษอายุรกรรม

41 การทำวิจัยในคลินิก Clinical outcomes of Ambulatory Pharmaceutical for Diabetes Patient 5. ถุงเขียวใบย่อม ต้อมยามาโรงพยาบาล ” All in Green Bag” 6. การค้นหาปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา ในคลินิกเฉพาะโรค

42 โรงเรียนสาธิตเบาหวาน
การดูแลตนเองโดยทั่วไป การดูแลตนเองในขณะเจ็บป่วย การดูแลตนเองเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อน โดย ..พยาบาล ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน / ภาวะแทรกซ้อน โดย.. แพทย์/พยาบาล อาหารเบาหวาน โดย..โภชนากร โรงเรียนสาธิตเบาหวาน การประเมินการควบคุมเบาหวาน (Self-Monitoring) โดย แพทย์/พยาบาล การออกกำลังกาย การดูแลเท้า การบริหารเท้า โดยนักกายภาพบำบัด การใช้ยา โดย..เภสัชกร

43 กิจกรรมโรงเรียนสาธิตเบาหวาน
เปิดดำเนินการ กุมภาพันธ์ 2552 จำนวนนักเรียน 201 คน อยู่ในระหว่างการประเมินผล

44 ผลการดำเนินงานโรคเบาหวาน รพ.ลำปาง
ผลการคัดกรองผู้ป่วยเบาหวาน รพ.ลำปาง อายุ 35 ปีขึ้นไป ร้อยละ

45 ผู้ป่วยที่มี HbA1c <7 %
ผลการดำเนินงานโรคเบาหวาน รพ.ลำปาง ผู้ป่วยที่มี HbA1c <7 % ร้อยละ

46 ผู้ป่วยเบาหวานที่มี LDL < 100 mg% BP < 130/80 mmHg
ผลการดำเนินงานโรคเบาหวาน รพ.ลำปาง ผู้ป่วยเบาหวานที่มี LDL < 100 mg% BP < 130/80 mmHg ร้อยละ

47 ความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวาน
ผลการดำเนินงานโรคเบาหวาน รพ.ลำปาง ความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวาน ร้อยละ

48 พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน
ผลการดำเนินงานโรคเบาหวาน รพ.ลำปาง พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน ร้อยละ

49 ผลการดำเนินงานโรคเบาหวาน รพ.ลำปาง
ผลการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวาน รพ.ลำปาง

50 ผู้ป่วยนอก ที่มีภาวะแทรกซ้อนอื่นร่วม

51 ผู้ป่วยใน ที่มีภาวะแทรกซ้อนอื่นร่วม
ร้อยละ

52 ผู้ป่วยเบาหวานที่เกิด Stroke ลดลง 5%
ผลการดำเนินงานโรคเบาหวาน รพ.ลำปาง ผู้ป่วยเบาหวานที่เกิด Stroke ลดลง 5% คน

53 จำนวนผู้ป่วย readmit ใน 28 วัน
ผลการดำเนินงานโรคเบาหวาน รพ.ลำปาง จำนวนผู้ป่วย readmit ใน 28 วัน คน

54 แผนการดำเนินงานต่อไป
ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานครบ 80 % กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 50 ได้ปรับลดพฤติกรรมเสี่ยง - พัฒนาศักยภาพเครือข่ายผู้ป่วยเบาหวาน พัฒนาศักยภาพทีมบุคลากรโรงพยาบาลชุมชนในเครือข่ายให้ดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานเป็นแนวทางเดียวกันทั้งจังหวัด

55 ผลงานที่ได้รับรางวัล ในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน
- ชนะเลิศการนำเสนอ นวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพ บริการพยาบาล เขต 1 ประจำปี 2551 ณ โรงแรมภูวดลรีสอร์ท เชียงราย รางวัล ยอดนิยม ( Popular vote )ในการนำเสนอผลงานการ พัฒนา คุณภาพการพยาบาลประเภทหน่วยงาน ในการประชุม วิชาการ Professional Practice : Chronic disease ของกรม การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข กันยายน 2551 ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ จอมเทียน พัทยา ชลบุรี

56 thank you


ดาวน์โหลด ppt ทีมเบาหวานโรงพยาบาลลำปาง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google