งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลำปาว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลำปาว"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลำปาว
สำนักชลประทานที่ 6 กรมชลประทาน

2 ระดับและปริมาณน้ำของอ่างเก็บน้ำลำปาว
ม. รทก. ล้าน ลบ. ม. 2544 1,700 ระดับเก็บกักปกติ (ปริมาณน้ำ 1,430 ล้าน ลบ.ม.) 2545 1,430 2550 2543 1,200 2547 990 2549 800 2541 630 2542 500 395 ระดับน้ำวันนี้ ม.รทก. ปริมาณ ล้าน ลบ.ม. 2546 310 2548 240 ม.ค ก.พ. มี.ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

3 แผนการส่งน้ำประจำปี แผน ของ โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลำปาว
แผนส่งน้ำฤดูฝน แผนส่งน้ำฤดูแล้ง มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค. การส่งน้ำฤดูฝน 15 20 หยุดส่งน้ำและการส่งน้ำขังคลอง สำหรับการเลี้ยงปลา – กุ้ง RMC. กม บ้านคำแมด LMC.กม บ้านปลาเค้าน้อย การส่งน้ำฤดูแล้ง 20 11

4 ในเขต โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลำปาว
พื้นที่ปลูกพืชฤดูฝน ปี รวมทั้งสิ้น ,306 ไร่ ในเขต โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลำปาว อ.เมือง ข้าว 87,843 ไร่ พืชไร่ พืชผัก 36 ไร่ บ่อปลา บ่อกุ้ง 2,569 ไร่ รวม 90,448 ไร่ อ.ยางตลาด ข้าว 74,463 ไร่ พืชไร่ พืชผัก 37 ไร่ บ่อปลา บ่อกุ้ง 4,797 ไร่ รวม 79,297 ไร่ อ.กมลาไสย ข้าว 85,812 ไร่ พืชไร่ พืชผัก - ไร่ บ่อปลา บ่อกุ้ง 253 ไร่ รวม 86,065 ไร่ กิ่ง อ.ฆ้องชัย ข้าว 24,470 ไร่ พืชไร่ พืชผัก - ไร่ บ่อปลา บ่อกุ้ง ไร่ รวม 42,496 ไร่

5 รายงานการเพาะปลูกพืชฤดูแล้งปี 2549/2550
รายงานการเพาะปลูกพืชฤดูแล้งปี 2549/2550 ในเขตโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลำปาว จ.กาฬสินธุ์ ฝ่ายส่งน้ำฯที่ ข้าว (ไร่) พืชไร่ (ไร่) พืชผัก (ไร่) บ่อปลา (ไร่) บ่อกุ้ง (ไร่) รวม (ไร่) 2 34,723 69 8 401 2,624 37,825 3 35,581 110 62 267 2,109 38,129 4 21,128 1,242 697 296 1,035 24,398 5 24,508 111 131 23 - 24,773 6 35,060 39 511 7 35,621 33,965 198 34,163 23,017 112 23,129 9 27,996 28,010 รวม 235,978 1,545 937 1,813 5,775 246,048

6 รายงานการเพาะปลูกพืชฤดูแล้งปี 2549/2550 (แยกเป็นรายอำเภอ)
รายงานการเพาะปลูกพืชฤดูแล้งปี 2549/2550 (แยกเป็นรายอำเภอ) ในเขตโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลำปาว จ.กาฬสินธุ์ อำเภอ ข้าว (ไร่) พืชไร่ (ไร่) พืชผัก (ไร่) บ่อปลา (ไร่) บ่อกุ้ง (ไร่) รวม (ไร่) เมือง 59,639 1,411 786 619 1,141 63,596 ยางตลาด 60,378 114 148 871 4,634 66,145 กมลาไสย 78,321 20 3 254 - 78,598 กิ่ง อ.ฆ้องชัย 37,640 69 37,709 รวม 235,978 1,545 937 1,813 5,775 246,048

7 รวมทั้งสิ้น 202,770 ไร่ (พื้นที่ปลูกจริง 246,048 ไร่)
กิ่งอ.สามชัย พื้นที่ 58,423 ไร่ ปลูก 63,596 ไร่ พื้นที่ 52,115 ไร่ ปลูก 66,145 ไร่ อ.สหัสขันธ์ อ.หนองกุงศรี พื้นที่ 64,733 ไร่ ปลูก 78,598 ไร่ พื้นที่ 27,499 ไร่ ปลูก 37,709 ไร่ แสดงพื้นที่ ส่งน้ำฤดูแล้งปี 2549 / ตามศักยภาพของโครงการฯที่สามารถส่งน้ำได้ รวมทั้งสิ้น 202,770 ไร่ (พื้นที่ปลูกจริง 246,048 ไร่)

8 ในเขต โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลำปาว
ติดตั้งเครื่องสูบน้ำ(กรณีชดเชย) ช่วยเหลือการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี พ.ศ. 2549/2550 ในเขต โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลำปาว ในเขต อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จำนวน 14 เครื่อง ในเขต อำเภอยางตลาด จำนวน 4 เครื่อง ในเขต กิ่งอำเภอ ฆ้องชัย จำนวน 9 เครื่อง ในเขต อำเภอกมลาไสย จำนวน 25 เครื่อง (ช่วยเหลือพื้นที่ 18,427ไร่) รวม เครื่อง

9

10 การใช้น้ำอย่างประหยัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในช่วงฤดูแล้ง
เกษตรกรควรปลูกพืชชนิดที่ใช้น้ำน้อยและมีพื้นที่อยู่ใกล้แหล่งน้ำ ปิดกั้นเก็บกักน้ำในแปลงนาไม่ให้เกิดการรั่วไหลสูญเสีย จัดให้มีการหมุนเวียนรอบเวร การใช้น้ำ ทั้งนี้เพื่อให้น้ำแพร่กระจายทั่วถึงทั้งต้นคลองและปลายคลอง เกษตรกรควรขุดลอกตะกอนดินและวัชพืชที่ขวางทางน้ำ เพื่อให้น้ำไหลได้สะดวก เกษตรกรควรงด หรือทำการเพาะเลี้ยงกุ้ง และลี้ยงปลา ให้น้อยกว่าปกติ เพื่อป้องกันการเสียหาย หาวิธีที่จะนำน้ำที่ใช้แล้วกลับมาใช้อีก เช่น น้ำทิ้งจากบ่อปลา บ่อกุ้ง นำมารดน้ำต้นไม้ได้อีก การให้น้ำแก่พืชบางชนิด อาจเลือกใช้วิธีให้น้ำ แบบน้ำหยด หรือใช้ระบบ Sprinkler ในภาวะภัยแล้งที่รุนแรงเกษตรควรลดหรืองดพื้นที่การเกษตรทั้งนี้ เพื่อป้องกันการเสี่ยงต่อการลงทุน

11 แนวทางการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำในช่วงฤดูแล้ง
สำรวจพื้นที่ ที่ประสบภัยแล้งเพื่อเป็นข้อมูลในการแก้ไขปัญหา ประชาสัมพันธ์ให้เกิดจิตสำนึกในการใช้น้ำอย่างประหยัด การใช้เครื่องสูบน้ำช่วยเหลือตลอดจนการขนย้ายน้ำโดยรถบรรทุกน้ำแจกจ่ายน้ำ การสำรวจขุดเจาะน้ำบาดาลขึ้นมาใช้ การผันน้ำจากแหล่งน้ำหนึ่งไปยังอีกแหล่งน้ำหนึ่ง เพื่อบรรเทาความเดือดร้อน มีการขุดลอกหนองน้ำ,สระน้ำ เพื่อเก็บกักน้ำในฤดูฝน มีการวางแผน ใช้น้ำจากแต่ละแหล่งน้ำ อย่างเหมาะสม การขอทำฝนหลวงในสภาพอากาศที่อำนวย เหมาะกับการทำฝนเทียม


ดาวน์โหลด ppt โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลำปาว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google