งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเขียนแผนแบบUBD.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเขียนแผนแบบUBD."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเขียนแผนแบบUBD

2 นักเรียนควรจะรู้และเข้าใจเรื่องใด มาตรฐานการปฏิบัติได้
1. การกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ (Identify desired result) นักเรียนควรจะรู้และเข้าใจเรื่องใด มาตรฐานของเนื้อหา (content standards) มาตรฐานการปฏิบัติได้ (performance นักเรียนสามารถทำอะไรได้ standards) ความเข้าใจที่คงทน (Enduring understandings) อะไรคือตะกอนความรู้ที่มีคุณค่า ที่มา: ฆนัท ธาตุทอง

3 มาตรฐานของเนื้อหา (content standards)
หมายถึง เนื้อหา สาระการเรียนรู้ที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้ มาตรฐานด้านการปฏิบัติ (performance standards) หมายถึง ข้อกำหนดที่แสดงถึงระดับคุณภาพที่ได้รับการยอมรับ (ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง)

4 ความเข้าใจที่คงอยู่ ( Enduring understandings)
หมายถึง ความรู้ที่สำคัญ (ตะกอนความรู้)ที่หลงเหลืออยู่ กับผู้เรียนอย่างถาวรตลอดไป ซึ่งเป็นผลที่เกิดจากการสอน ของผู้เรียนที่มีความเข้าใจที่ลึกซึ้ง(Insights)และถือว่าเป็น ความเข้าใจที่คงทน

5 2. การกำหนดหลักฐานแสดงถึงผลการเรียนรู้
(Determine acceptable evidence) ครูผู้สอนจะรู้ได้อย่างไรว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่กำหนดไว้ หลักฐาน วิธีการประเมิน เกณฑ์การประเมิน การแสดงออกของนักเรียนควรมีลักษณะอย่างไร จะยอมรับได้อย่างไรว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจตามที่กำหนดไว้ ที่มา: ฆนัท ธาตุทอง

6 3. การออกแบบกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
( plan learning experiences and instructio n) หน่วยการเรียนรู้ใดบ้างที่ได้สอดประสานกันระหว่างขั้นที่ 1 และ 2 เข้าด้วยกัน โดยอาศัยกิจกรรมและคำถามสำคัญไปสู้ผู้เรียน ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ให้พิจารณาแนวทางการดำเนินงานดังนี้  เป้าหมายอยู่ที่ไหน  ทำไมจึงเรียนเรื่องนี้  ผู้เรียนเกาะติดการเรียนได้อย่างไร  จะตรึงผู้เรียนให้ติดตามต่อไปได้อย่างไร

7  จะช่วยให้ผู้เรียนมีความพร้อมที่จะแสวงหาความรู้เครื่องมือ วิธีการเรียนรู้เพื่อไปถึงเป้าหมายได้อย่างไร  คิดซ้ำ ๆ หรือไม่  สะท้อนความรู้อะไรบ้าง  ทบทวนความรู้เดิมมากน้อยเพียงใด  นักเรียนมีโอกาสในการประเมินตนเองและรู้ความก้าวหน้าของตนเองหรือไม่อย่างไร  คุณครูเป็นเสมือนช่างตัดเย็บเสื้อผ้า ที่ได้ออกแบบตามความต้องการ ความสนใจ ความแตกต่างในสรีระของลูกค้าแล้วหรือยัง  ผู้เรียนได้จัดระบบความรู้ ด้วยความเข้าที่ลึกซึ้งคงทน

8 ( Enduring understandings) 2. สิ่งที่จำเป็นต้องรู้และจำเป็นต้องทำ
ความเข้าใจที่คงทน ( Enduring understandings) 2. สิ่งที่จำเป็นต้องรู้และจำเป็นต้องทำ 3. สิ่งที่มีคุณค่าและน่าจะรู้ ความเข้าใจ ที่ลุ่มลึกและยั่งยืน ที่มา: ฆนัท ธาตุทอง

9 ระบุหลักฐานการเรียนรู้
การกำหนดหลักฐานการเรียนรู้ ระบุหลักฐานการเรียนรู้ 1. สามารถอธิบายชี้แจงเหตุผล ระบุวิธีการประเมิน 2. การแปลความตีความ 3. การประยุกต์ กำหนดเกณฑ์การประเมินคุณภาพ (Rubric Scores) 4. การเขียนภาพที่เห็นด้วยตาจริง 5. สามารถหยั่งรู้มีความรู้สึกร่วม 6. มีองค์ความรู้เป็นของคนเอง ที่มา: ฆนัท ธาตุทอง


ดาวน์โหลด ppt การเขียนแผนแบบUBD.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google