งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

และความเป็นกรด-ด่างของดิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "และความเป็นกรด-ด่างของดิน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 และความเป็นกรด-ด่างของดิน
การตรวจสอบ ธาตุอาหารพืชในดิน เอ็น (N) พี (P) เค (K) และความเป็นกรด-ด่างของดิน แบบรวดเร็ว Aug 19, 2008

2 กรวยพลาสติก กระดาษกรอง 5 มล. 1 มล. หลอดแก้ว พร้อม จุกยาง 3 มล. กระบอก สำหรับ ตวง น้ำยาสกัด ช้อนตักดิน ช้อนตักผง แผ่นเหล็ก ถาดหลุมพลาสติก ขวด รองรับ ขวด สกัดดิน ถ้วย พลาสติก

3 10 1 N N 3 4 วัด กรด- ด่าง ของดิน 2 5 6 P K 8 9A 9 7 น้ำยาสกัดดิน
เอ็น N เอ็น N 3 4 10 วัด กรด- ด่าง ของดิน 2 5 1 ดินนา แอมโมเนียม ดินไร่ ไนเทรต พี 6 P เค K 8 9A 9 7 ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม น้ำยาสกัดดิน น้ำกรอง

4 แถบสีมาตรฐาน กรด-ด่าง ไนเตรต แผ่นที่ 1 แผ่นที่ 2 แอมโมเนียม ฟอสฟอรัส
โพแทสเซียม

5 ความเป็นกรด-ด่าง (pH)
แอมโมเนียม ขั้นตอนการตรวจสอบดิน ไนเตรต เตรียมตัวอย่างดิน ฟอสฟอรัส สกัดธาตุอาหารพืช โพแทสเซียม ตรวจสอบ ตรวจสอบ ไนโตรเจน เอ็น : N ฟอสฟอรัส พี : P โพแทสเซียม เค : K ความเป็นกรด-ด่าง หรือค่าพีเอช (pH) ถ้าดินนา ถ้าดินไร่ แอมโมเนียม ไนเทรต ความเป็นกรด-ด่าง (pH)

6 การตรวจสอบความเป็นกรด-ด่าง (พีเอช) ของดิน
ใส่ดิน ครึ่งหลุม 1. ใส่ดินลงในหลุมพลาสติก ประมาณครึ่งหลุม โดยใช้ ซ้อนตักดินที่สะอาด 2. หยดน้ำยาเบอร์ 10 ลงไป จนดินอิ่มตัวด้วยน้ำยาฯ แล้ว เพิ่มน้ำยาฯ อีก 2 หยด 3. เอียงหลุมพลาสติกไปมา (ถ้าดินเหนียว ดินจะเกาะกัน เป็นก้อน ให้ใช้ปลายซ้อนเขี่ย เบาๆ ระวัง! อย่าให้น้ำยาขุ่น) 4. ทิ้งไว้ 1 นาที เปรียบเทียบ สีของน้ำยาฯ บริเวณขอบหลุม กับแผ่นเทียบสีมาตรฐานฯ 1 2 ถาดหลุมพลาสติก น้ำยา เบอร์ 10 แผ่นเทียบสีมาตรฐาน ‘พีเอช’

7 การเตรียมอุปกรณ์สำหรับกรอง ของเหลวที่ได้จากการสกัด
ปรับให้เหลื่อมกัน ประมาณ ½-1 ซม. เหลื่อมกัน ½-1 ซม. 3 พับครึ่ง 1 พับครึ่ง 2

8 การสกัดธาตุอาหารพืชออกจากดิน
ใส่น้ำยาสกัดเบอร์ 1 20 มล. 2 กระบอกตวง 1 ตวงตัวอย่างดิน 1 ช้อน เคาะเบาๆ 3 ครั้ง แล้วปาด ให้เสมอขอบช้อน ถ้วย พลาสติก น้ำยาสกัดเบอร์ 1 ปิดฝา และเขย่าให้เข้ากัน 5 นาที แล้วจึงกรอง ช้อนตวงดิน 3 ขวดสกัดดิน

9 ผ่านบนกระดาษกรองเท่านั้น
หลังเขย่า 5 นาที เทดินและน้ำยาสกัด ผ่านบนกระดาษกรองเท่านั้น 1 ขวดสกัดดิน รอจนของเหลว ซึมออกจาก กระดาษกรองจนหมด ใช้เวลาประมาณ 5 นาที 2 ขวดรองรับ

10 เมื่อดูดตัวอย่างใหม่
ดูดสารละลาย ที่ผ่าน การกรองแล้ว ใส่ลงในหลอดแก้ว 3 มล. 1 มล. 2.5 2.5 0.8 เอ็น พี เค 1 2 3 N P K 2.5 มล. 0.8 มล. หมายเหตุ : ต้องล้างด้วย น้ำสะอาดทุกครั้ง เมื่อดูดตัวอย่างใหม่ ระวัง! ดินนา-แอมโมเนียม ดินไร่-ไนเทรต ขวดรองรับ ไนเตรต / แอมโมเนียม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม

11 การตรวจสอบปริมาณ ‘แอมโมเนียม’ (N)
หลอดที่ 1 N 1. ดูด ‘น้ำ’ จากขวดรองรับ 2.5 มล. ใส่ลงในหลอดแก้ว 2. เติมผงเบอร์ 2 หนึ่งช้อนเล็ก 3. เติมน้ำยาเบอร์ 3, 5 หยด 4. ปิดฝาหลอดแก้วด้วยจุกยาง 5. เขย่าให้เข้ากัน ทิ้งไว้ 5 นาที 6. อ่านค่า ‘แอมโมเนียม’ โดย เปรียบเทียบกับแผ่นสีมาตรฐาน ‘แอมโมเนียม’ ถ้าเกิดโทนสีฟ้า ใช้ ‘แผ่นที่ 1’ ถ้าเกิดโทนสีเขียว ใช้ ‘แผ่นที่2’ 3 2 VH H M L VL

12 การตรวจสอบปริมาณ ‘ไนเตรต’ (N)
หลอดที่ 1 N 1. ดูด ‘น้ำ’ จากขวดรองรับ 2.5 มล. ใส่ลงในหลอดแก้ว 2. เติมน้ำยาเบอร์ 4, 0.5 มล. 3. เติมผงเบอร์ 5 หนึ่งซ้อนเล็ก 4. ปิดฝาหลอดแก้วด้วยจุกยาง 5. เขย่าให้เข้ากัน ทิ้งไว้ 5 นาที 6. อ่านค่า ‘ไนเตรต’ โดย เปรียบเทียบกับแผ่นสีมาตรฐาน ‘ไนเตรต’ 5 4 H M L VL

13 การตรวจสอบปริมาณ ‘ฟอสฟอรัส’ (P)
หลอดที่ 2 P 1. ดูด ‘น้ำ’ จากขวดรองรับ 2.5 มล. ใส่ลงในหลอดแก้ว 2. เติมน้ำยาเบอร์ 6, 0.5 มล. 3. เติมผงเบอร์ 7 ครึ่งซ้อนเล็ก 4. ปิดฝาหลอดแก้วด้วยจุกยาง 5. เขย่าให้เข้ากัน ทิ้งไว้ 5 นาที 6. อ่านค่า ‘ฟอสฟอรัส’ โดย เปรียบเทียบกับแผ่นสีมาตรฐาน ‘ฟอสฟอรัส’ 7 6 M L VL VH H

14 การตรวจสอบปริมาณ ‘โพแทสเซียม’ (K)
หลอดที่ 3 K 1. ดูด ‘น้ำกรอง’ 3 มล. ใส่ลงใน ขวดเบอร์ 9 เขย่าให้เข้ากัน 5 นาที 2. ดูด ‘น้ำ’ จากขวดรองรับ 0.8 มล. 3. เติมน้ำยาเบอร์ มล. (ห้ามเขย่า) 4. เติมน้ำยาเบอร์ 9A จำนวน 1 หยด (ห้ามเขย่า) 5. เติมน้ำยาเบอร์ 9 จำนวน 2 หยด (ห้ามเกิน) 6. ปิดฝาหลอดแก้วด้วยจุกยาง เขย่าให้เข้ากัน อ่านค่า ‘โพแทสเซียม’ ทันที ถ้ามี ‘ตะกอน’ อ่านว่า K สูง ถ้ามี ‘ฝ้าขาว’ อ่านว่า K ปานกลาง ถ้าไม่มีตะกอน ให้เปรียบเทียบ กับแผ่นสีมาตรฐาน ‘โพแทสเซียม’ 3 มล. น้ำกรอง 9A 9 8 H M L

15 คำแนะนำการใช้ปุ๋ยข้าว จ.อุทัยธานี
ชุดดินเดิมบาง (Db) ผลผลิตที่คาดว่าจะได้รับ 973 กก./ไร่ ผลการวิเคราะห์ดิน : เอ็น-พี-เค = ต่ำมาก-ต่ำ-สูง คำแนะนำการใส่ปุ๋ย


ดาวน์โหลด ppt และความเป็นกรด-ด่างของดิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google