งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)

2 สถานการณ์การผลิตและการตลาด
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

3 สถานการณ์การผลิตและการตลาด
1.ประเทศไทยส่งออก อันดับ ๑ ของโลก 2.พื้นที่เก็บเกี่ยว ๖ แสนไร่/ปี 3.ผลผลิต ๒ – ๒.๕ ล้านตัน/ปี 4.มูลค่า ๒๙,๐๐๐ ล้านบาท 5.ผู้ปลูกสับปะรด ๓๘,๐๐๐ ครัวเรือน ๒๐ จังหวัด สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

4 สภาพปัญหา สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

5 สภาพปัญหา 1.เกษตรกรขาดความรู้ด้านการผลิต 2.ต้นทุนการผลิตสูง
3.ผลผลิตต่อไร่ต่ำ 4.คุณภาพผลผลิตไม่ได้ตามมาตรฐานโรงงาน 5.ผลผลิตออกกระจุกตัว ล้นตลาด ราคาตกต่ำ 6.องค์กรเกษตรกรไม่เข้มแข็ง 7.โรคเหี่ยวระบาด สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

6 วัตถุประสงค์ สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

7 วัตถุประสงค์ ผลิตสับปะรดให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานโรงงาน
๒. พัฒนาเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ๓. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุนการผลิต สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

8 ผลผลิตเพิ่มพูน องค์กรเข้มแข็ง แปลงพันธุ์ปลอดโรค
concept ผลผลิตเพิ่มพูน องค์กรเข้มแข็ง แปลงพันธุ์ปลอดโรค สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

9 พื้นที่เป้าหมาย 20 จังหวัด
ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ลำปาง อุตรดิตถ์ เชียงราย อุทัยธานี พิษณุโลก ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ชัยภูมิ เลย หนองคาย นครพนม สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

10 กิจกรรม ๑. การอบรมเกษตรกร ๒. การอบรมเจ้าหน้าที่
๓. จัดทำแปลงต้นแบบการป้องกันกำจัดโรคแมลง ๔.การประชุมคณะกรรมการกลุ่มระดับประเทศ / ระดับจังหวัด / ระดับอำเภอ ๕. การประชุมสมาชิกกลุ่มระดับตำบล ๖. การติดตามสถานการณ์การผลิตการตลาด

11 วิธีการดำเนินโครงการ
1.การอบรมเกษตรกร จำนวน 2 หลักสูตร 1.1 หลักสูตรการผลิตสับปะรดตามระบบ GAP หลักสูตรการป้องกันกำจัดโรคเหี่ยว ๒. การอบรมเจ้าหน้าที่ หลักสูตรการผลิตการตลาดสับปะรด ๓.จัดทำแปลงต้นแบบการป้องกันกำจัดโรคแมลง

12 วิธีการดำเนินโครงการ
๔. ประชุมคณะกรรมการกลุ่มระดับประเทศ ๕. ประชุมคณะกรรมการกลุ่มระดับจังหวัด ๖. ประชุมคณะกรรมการกลุ่มระดับอำเภอ ๗. ประชุมสมาชิกกลุ่มระดับตำบล ๘. ติดตามรวบรวมข้อมูลสถานการณ์การผลิต ๒๐ จังหวัด สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

13 ประเด็นวัดผลของโครงการ
เกษตรกร 2,250 ราย ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี และมีความรู้ 1.การผลิตตามระบบ GAP 2.การป้องกันกำจัดโรคเหี่ยว 3.กระบวนการกลุ่ม สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

14 ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
กลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว ส่วนส่งเสริมการผลิตพืชไร่ สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร โทร โทรสาร ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

15


ดาวน์โหลด ppt โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google