งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการบริหารจัดการศัตรูพืชและ การเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร ปี ๒๕๕๔

2 วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน

3 เกษตรกรเป้าหมายจำนวน ๓๓,๔๘๐ ราย แปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช ๑,๑๑๖ แปลง
เป้าหมาย ดำเนินการใน ๗๓ จังหวัด ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน ๑,๑๑๖ ศูนย์ ประกอบด้วย -ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนโครงการบริหารความเสี่ยงเดิม ๓๕๘ ศูนย์ -ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนโครงการการจัดการเพลี้ยแป้งฯ๕๗๒ ศูนย์ -ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนจัดตั้งใหม่ ๑๘๖ ศูนย์ เกษตรกรเป้าหมายจำนวน ๓๓,๔๘๐ ราย แปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช ๑,๑๑๖ แปลง

4 กิจกรรม ก่อนเกิดภัย (เตรียมความพร้อม สำรวจและติดตาม การเฝ้า ระวังศัตรูพืชและเตือนการระบาด) ระหว่างเกิดภัย (การจัดการศัตรูพืช) หลังเกิดภัย (การให้ความช่วยเหลือ)

5 กิจกรรม ๒๕๕๔ ๑ ก่อนการเกิดภัย ( การเฝ้าระวังศัตรูพืชและเตือนภัยศัตรูพืช) สร้างความเข้มแข็งในการจัดการศัตรูพืช โดยการอบรมเจ้าหน้าที่ ๒ หลักสูตร การจัดตั้งศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนใน ๗๓ จังหวัด จำนวน ๑๘๖ ศูนย์ (ศูนย์ใหม่) พัฒนาความรู้สมาชิก ๑๘๖ ศูนย์ x ๓๐ ราย = ๕,๕๘๐ ราย สนับสนุนงบประมาณผลิตขยายศัตรูธรรมชาติ ศูนย์ละ ๑๖,๐๐๐ บาท ตั้งแปลงสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช ๑๘๖ แปลงๆละ ๔,๐๐๐ บาท สนับสนุนหัวเชื้อจุลินทรีย์ และ พ่อ-แม่พันธุ์ศัตรูธรรมชาติ การผลิตต้นพันธุ์มันสำปะหลัง(ส่วนพัฒนาการเพาะเลี้ยงและจัดการพันธุ์พืช)

6 การผลิตต้นพันธุ์มันสำปะหลัง
ผลิตต้นพันธุ์โดยการเพาะเลี้ยงเนื่อเยื่อ จำนวน ๑๕๐,๐๐๐ ต้น(กลุ่มงานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ) ผลิตต้นพันธุ์โดยการปักชำ ๘๕๐,๐๐๐ ต้น(ศูนย์พันธุ์พืชเพาะเลี้ยง) ทำแปลงแม่พันธุ์ แปลงพันธุ์หลัก /แปลงพันธุ์ขยาย

7 ๒. ระหว่างเกิดภัย (การจัดการศัตรูพืช)
กิจกรรม ๒๕๕๔ ๒. ระหว่างเกิดภัย (การจัดการศัตรูพืช) - สนับสนุนเชื้อจุลินทรีย์และศัตรูธรรมชาติ (ส่วนกลาง และ ศบพ)  เชื้อจุลินทรีย์ ๑๐๐,๐๐๐ กิโลกรัม  ศัตรูธรรมชาติ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ ตัว - การติดตามสถานการณ์การระบาดศัตรูพืช โดย ศูนย์บริหารศัตรูพืช

8 ๓. หลังการเกิดภัย (การให้ความช่วยเหลือ)
กิจกรรม ๒๕๕๔ ๓. หลังการเกิดภัย (การให้ความช่วยเหลือ)  พัฒนาศักยภาพศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนโครงการบริหารความเสี่ยง (เดิม) พัฒนาความรู้สมาชิก ๓๕๘ ศูนย์ x ๓๐ ราย = ๑๐,๗๔๐ ราย สนับสนุนงบประมาณผลิตขยายศัตรูธรรมชาติ ระดับ A ๕,๐๐๐ บาท ระดับ B ๔,๐๐๐ บาท ระดับ C ๓,๐๐๐ บาท + ศึกษาดูงานศูนย์ละ ๖,๐๐๐ บาท ตั้งแปลงสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช ๓๕๘ แปลง

9 ๓. หลังการเกิดภัย (การให้ความช่วยเหลือ) (ต่อ)
กิจกรรม ๒๕๕๔ ๓. หลังการเกิดภัย (การให้ความช่วยเหลือ) (ต่อ) พัฒนาศักยภาพศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนโครงการการจัดการเพลี้ยแป้งฯ พัฒนาความรู้สมาชิก ๕๗๒ ศูนย์ x ๓๐ ราย = ๑๗,๑๖๐ ราย สนับสนุนงบประมาณผลิตขยายศัตรูธรรมชาติ ศูนย์ละ ๔,๐๐๐ บาท ตั้งแปลงสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช ๕๗๒ แปลง

10 ภารกิจ ส่วนบริหารศัตรูพืช ผลิตหัวเชื้อบริสุทธิ์สนับสนุน ศบพ.
ผลิตพ่อ – แม่พันธุ์ ตัวห้ำ - ตัวเบียน ผลิตเชื้อจุลินทรีย์ / ตัวห้ำ- ตัวเบียน สนับสนุน การดำเนินงานตามตัวชี้วัดของกรมฯ สนับสนุนวิชาการอื่นๆ

11 ภารกิจจังหวัด /อำเภอ ตั้งศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนใหม่
ถ่ายทอดความรู้ด้านการจัดการศัตรูพืชให้เกษตรกรในศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนในพื้นที่ สนับสนุนวัสดุในการเรียนรู้ เป็นวิทยากรพี่เลี้ยงให้เกษตรกรตลอดฤดูการเพาะปลูก

12 ภารกิจ/ ศูนย์บริหารศัตรูพืช
- ผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ขยายให้ศจช.ในพื้นที่จังหวัดที่รับผิดชอบ - ผลิตเชื้อจุลินทรีย์ / ตัวห้ำ- ตัวเบียน สนับสนุนพื้นที่ที่ดำเนินการ - ติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช - จัดทำข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช

13 การรายงาน ขออนุมัติใช้เงินในระบบ e – project
การรายงานผลการใช้จ่ายเงิน-รายงานผลการปฏิบัติงาน


ดาวน์โหลด ppt วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google