งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยคุณภาพภาคเหนือ ปี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยคุณภาพภาคเหนือ ปี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยคุณภาพภาคเหนือ ปี 2556 - 2558

2 สถานการณ์การผลิตลำไยภาคเหนือ
M แผนที่ปลูกลำไย 8 จังหวัด ข้อมูลการผลิต 8 จังหวัด พื้นที่ปลูก ,916 ไร่ พื้นที่ให้ผล 805,405 ไร่ ผลผลิต ,841 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย - ในฤดู กก./ไร่ - นอกฤดู 1,309 กก./ไร่ เชียงราย พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ ตาก

3 คณะทำงาน ฯวิเคราะห์ สถานการณ์การผลิตลำไย 8 จังหวัดภาคเหนือ
C ข้อมูลการผลิต พื้นที่ให้ผล 818,023 ไร่ ผลผลิตรวม 578,673 ตัน -ในฤดู 414,784 ตัน -นอกฤดู 163,889 ตัน สภาพปัญหา สวนเก่า/เกษตรกรรายย่อย/สูงวัย ผลผลิตต่ำ/ไม่มีคุณภาพ ผลผลิตออกพร้อมกัน/ล้นตลาด ทางรอด ลดต้นทุน /เพิ่มผลผลิต/ปรับปรุงคุณภาพ ผลิตลำไย Gap/อินทรีย์/ผลิตลำไยนอกฤดู กลุ่มเข้มแข็ง/เครือข่ายการผลิต/ตลาด แนวทางแก้ไขปัญหา กลยุทธ์ที่ 1 ยกระดับการผลิต กลยุทธ์ที่ 2 ยกระดับองค์ความรู้ กลยุทธ์ที่ 3 ยกระดับราคา

4 ปัญหาการผลิตลำไย 8 จังหวัด
M ปัญหาการผลิตลำไย 8 จังหวัด แผนที่ 8 จังหวัด 1. ปัญหาผลผลิตต่อไร่ต่ำ รวม 8 จังหวัด ในฤดู นอกฤดู 633 1,550 เชียงราย พะเยา น่าน น่าน 2. ปัญหาคุณภาพผลผลิต รวม 8 จังหวัด เกรด AA A B ร้อยละ 34 46 20 เชียงใหม่ ลำปาง ลำพูน แพร่ 3. ปัญหาผลผลิตออกพร้อมกัน/กระจุกตัว ช่วงวันที่ 15 ก.ค. – 15 ส.ค. 56 ปี ตัน ร้อยละ ปี 2555 326,703 70.96 ปี 2556 303,413 68.07 ตาก

5 ทางรอดในการผลิตลำไยภาคเหนือ
พัฒนาศักยภาพการผลิต/ปรับปรุงคุณภาพการผลิต เน้นความปลอดภัยของผลผลิต (Gap/อินทรีย์) ลดต้นทุนการผลิต/เพิ่มผลผลิตต่อไร่ กระจายผลผลิตออกตลอดทั้งปี โดยเลือกช่วงการผลิต(ในฤดู/นอกฤดู) สร้างกลุ่มเครือข่ายการผลิตและการตลาด

6 ยุทธศาสตร์การผลิตลำไยภาคเหนือ เพื่อแก้ไขปัญหาการผลิตและการตลาดลำไย ปี 2556-2558
ยกระดับการผลิต 1.1 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 1.2 ปรับปรุงคุณภาพผลผลิตสู่ความปลอดภัย 1.3 สร้างความเข้มแข็งกลุ่มผู้ผลิต/แก้ไขปัญหาผลผลิตล้นตลาด กลยุทธ์ที่ 1 ยกระดับองค์ความรู้ 2.1 สนับสนุนระบบ Logistics 2.2 พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ 2.3 สนับสนุนการวิจัยและพัฒนา กลยุทธ์ที่ 2 ยกระดับราคา 3.1 ส่งเสริมระบบตลาดภายในและต่างประเทศ 3.2 แปรรูปผลิตภัณฑ์ เพิ่มมูลค่าผลผลิต 3.3 ประชาสัมพันธ์คุณค่าและคุณประโยชน์การบริโภคลำไยไทย กลยุทธ์ที่ 3

7 การปรับโครงสร้างการผลิตลำไยภาคเหนือ ปี 2556-2558
C วัตถุประสงค์ 1. ส่งเสริมการผลิตลำไยคุณภาพนอกฤดู เพื่อกระจายผลผลิตตลอดทั้งปี 2. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตลำไยในฤดูและนอกฤดู คุณภาพระดับส่งออก 3. ส่งเสริมการผลิตลำไย Gap/อินทรีย์ คุณภาพระดับส่งออก โมเดลการพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยภาคเหนือ 1. โมเดลส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยนอกฤดูคุณภาพระดับส่งออก 2. โมเดล พัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยในฤดูคุณภาพระดับส่งออก 3. โมเดล ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไย Gap/อินทรีย์

8 ขั้นตอนการดำเนินงาน วิธีการ ระบบสนับสนุน 1.ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตลำไย
1. กำหนดพื้นที่การผลิต เกษตรกร และเป้าหมายการผลิต 2. พัฒนาเกษตรกรผู้ผลิตทั้งในและ นอกฤดู 3. รวมกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิต 4. พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิตลำไยคุณภาพ 5. ระบบการสนับสนุนการผลิต 6. ระบบการตลาดและเครือข่าย ระบบสนับสนุน 1.ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตลำไย คุณภาพใน-นอกฤดู/อินทรีย์ 2. สนับสนุนปัจจัยการผลิต 3. เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำเพื่อพัฒนาแหล่งน้ำ 4. ความรู้/เทคนิคการบริการจัดการ กลุ่ม 5. สร้างทีมงานบริหารจัดการสวน ลำไยแบบมืออาชีพ 6. แปลงเรียนรู้การผลิตลำไยคุณภาพ

9 เป้าหมายการผลิตลำไยภาคเหนือ
M C F แผนที่ 8 จังหวัด 1.ผลิตนอกฤดู ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 40 : 60 18 : 82 28 : 72 เชียงราย พะเยา 2.ผลิตคุณภาพ ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 50:45:5 (AA:A:B) 35:50:15 45:50:5 น่าน เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ 3.เพิ่มผลผลิต ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ในฤดู 700 750 800 นอกฤดู 1,600 1,650 1,700 ตาก

10 การใช้ MRCF ขับเคลื่อนการพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยภาคเหนือ
Community Participation Remote Sensing Specific Field Service การมีส่วนร่วม กระบวนการเรียนรู้ Mapping การพัฒนาลำไยคุณภาพภาคเหนือ

11 สรุป การใช้ MRCF ขับเคลื่อนการพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยภาคเหนือ
สินค้า ผลผลิตลำไยได้รับการพัฒนา 1. คุณภาพผลผลิตลำไยตรงความต้องการตลาด 2. ผลผลิตลำไยกระจายออกตลอดปีไม่กระจุกตัว 3. ผลผลิตลำไยปลอดภัยระดับ GAPและอินทรีย์ 4. ผลผลิตลำไยเฉลี่ยต่อไร่สูงขึ้นตามเป้าหมาย เกษตรกรผู้ผลิตลำไยได้รับการพัฒนา 1. รวมกลุ่มผู้ผลิตลำไยอย่างมีคุณภาพ 2. กลุ่มมีความเข้มแข็ง มีศักยภาพในการ ขับเคลื่อน ฯ และพึ่งพาตนเองได้ 3. กลุ่มมีเครือข่ายในระบบการผลิตและตลาด เกษตรกรได้รับการบริการ 1.เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและกำหนดพื้นที่การผลิตเหมาะสมสอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ 2.เกษตรกรได้รับการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเฉพาะพื้นที่ ใน-นอกฤดู/Gap/อินทรีย์ 3.เกษตรกรได้รับความรู้และเทคนิคการรวมกลุ่มผู้ผลิต/ระบบเครือข่าย/ระบบตลาด อย่างมีประสิทธิภาพ

12 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยคุณภาพภาคเหนือ ปี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google