งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นายพีรพร พร้อมเทพ 20 มีนาคม 2552 KM สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นายพีรพร พร้อมเทพ 20 มีนาคม 2552 KM สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นายพีรพร พร้อมเทพ 20 มีนาคม 2552 KM สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี
แนวทางการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ระดับหน่วยงานย่อย และ ความสอดคล้องของแผนยุทธศาสตร์ นายพีรพร พร้อมเทพ 20 มีนาคม 2552 KM สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี

2 ประเด็นการนำเสนอ 1. ยุทธศาสตร์คืออะไร 2. ยุทธศาสตร์กรมส่งเสริมการเกษตร
3. การจัดทำยุทธศาสตร์หน่วยงานย่อย 4. สาระสำคัญของการพัฒนาการเกษตร 5. สรุป

3 ยุทธศาสตร์คืออะไร ?

4 ยุทธศาสตร์คืออะไร ? ยุทธศาสตร์ สิ่งที่มุ่งเน้นต้องทำ
ทำแล้วต้องเกิดการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงนั้นต้องมีนัยสำคัญต่อองค์กร/ก้าวกระโดด มีความท้าทาย เป็นการมองอนาคต ไม่ติดยึดอยู่กับอดีต มองเชิงสร้างสรรค์ ไม่ใช่ท้อแท้ ใช้สื่อสารทำความเข้าใจร่วมกัน เพื่อให้เห็นภาพหรือมองภาพเดียวกันทั้งองค์กร ยุทธศาสตร์ = กลยุทธ์ = Strategy เป็นเรื่องของวิธีคิด ไม่ใช่รูปแบบ

5 จุดเด่นของแผนยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์คืออะไร ? จุดเด่นของแผนยุทธศาสตร์ 1. มีทิศทาง เป้าหมายที่ชัดเจน 2. มีการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม 3. มีกลยุทธ์ (วิธีการ) ที่เหมาะสม เป็นได้จริง 4. มีมุมมองที่ครอบคลุมทุกมิติ 5. ไม่ซับซ้อน นำไปสู่การปฏิบัติ 6. นำไปใช้ได้ในทุกระดับ 7. ยืดหยุ่น ทันสถานการณ์

6 องค์ประกอบของยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์คืออะไร ? องค์ประกอบของยุทธศาสตร์ ระบุสิ่งที่มุ่งหวัง วิเคราะห์สภาพแวดล้อม กำหนดกลยุทธ์ กลไกการขับเคลื่อน

7 คำว่านโยบายกับยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์คืออะไร ? คำว่านโยบายกับยุทธศาสตร์ นโยบาย = สิ่งที่ผู้บริหารต้องการจะทำ หรือต้องการให้ เกิดขึ้น ยุทธศาสตร์ = สิ่งมุ่งเน้นที่ต้องทำเพื่อให้บรรลุตาม วิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้

8 นโยบาย รัฐบาล (นายกฯอภิสิทธิ์) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (รมว.ธีระ)
ยุทธศาสตร์คืออะไร ? นโยบาย รัฐบาล (นายกฯอภิสิทธิ์) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (รมว.ธีระ) กรมส่งเสริมการเกษตร (อธส.อรรถ)

9 ยุทธศาสตร์คืออะไร ? ยุทธศาสตร์ ระดับของยุทธศาสตร์ แผนฯเชิงแนวคิด
(ใช้เป็นกรอบการทำงาน) แผนฯเชิงปฏิบัติ (ใช้ของบประมาณ) รัฐบาล แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 แผนบริหารราชการแผ่นดิน กระทรวง แผนพัฒนาการเกษตร ภายใต้แผนฯ 10 แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรม แผนยุทธศาสตร์ กรมส่งเสริมการเกษตร แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี

10 แผนยุทธศาสตร์กรม ปี

11 แผนยุทธศาสตร์กรมส่งเสริมการเกษตร
เงื่อนไขการจัดทำ ยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนได้ง่าย รองรับงานทั้งหมดของกรม รองรับนโยบายรัฐบาล(ที่มีการเปลี่ยนบ่อย) ทำให้เป็นเรื่องเดียวกับแผนฯ 4 ปี ใช้จัดทำคำของบประมาณได้ ตอบ PMQA และ PART ได้

12 แผนยุทธศาสตร์กรมส่งเสริมการเกษตร
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตอบสนองนโยบายรัฐบาล เชิงรุก/เชิงรับ การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง เชิงรุก เสริมสร้างความเข้มแข็งเกษตรกร เชิงรับ ส่งเสริมการผลิตและจัดการสินค้า เชิงรับ การให้บริการและช่วยเหลือเกษตรกร เชิงรับ พัฒนาองค์กร บุคลากร ระบบงาน เชิงรับ

13 แผนที่ยุทธศาสตร์ เกษตรกรอยู่ดีมีสุขอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในการดำเนินชีวิตและประกอบอาชีพการเกษตร ประสิทธิผล  ผลสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของรัฐบาล  เกษตรกรมีการเสริมสร้างความเข้มแข็งในครอบครัว องค์กรเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และชุมชนเกษตร  เกษตรกรมีขีดความ สามารถในการผลิต และจัดการสินค้าเกษตร คุณภาพบริการ  เกษตรกรและประชาชนมีความพึงพอใจกับบริการทางการเกษตรและการช่วยเหลือต่างๆที่ได้รับจากกรมส่งเสริมการเกษตร ประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานเป็นไปตามแผน การทำงานเป็นระบบ และบูรณาการกับทุกภาคส่วน บุคลากรมีขวัญกำลังใจ และมีสมรรถนะในการปฏิบัติงาน การใช้จ่ายงบประมาณเป็นไปตามแผน ประหยัด และคุ้มค่า พัฒนาองค์กร  กรมส่งเสริมการเกษตรมีขีดความสามารถและมาตรฐานการปฏิบัติงานในระดับสูง

14 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์
คู่มือ การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ระดับหน่วยงานย่อย

15 การจัดทำยุทธศาสตร์หน่วยงานย่อย
นโยบายการจัดทำแผนยุทธศาสตร์องค์กร จัดทำแผนยุทธศาสตร์ที่เป็นภาพรวมของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้ทุกหน่วยงานในระดับ สำนัก กอง เขต จังหวัด และศูนย์ปฏิบัติการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงานตนเอง

16 การจัดทำยุทธศาสตร์หน่วยงานย่อย
หน่วยงานที่ต้องจัดทำแผนยุทธศาสตร์ สำนัก กอง เขต จังหวัด ศูนย์ปฏิบัติการ

17 การจัดทำยุทธศาสตร์หน่วยงานย่อย
กรอบการจัดทำยุทธศาสตร์ 1. จัดทำข้อมูลแผนยุทธศาสตร์ตามแบบฟอร์มที่กำหนด 2. มีองค์ประกอบหลักของแผนยุทธศาสตร์ครบ 4 องค์ประกอบ คือ 2.1 ระบุสิ่งที่มุ่งหวัง (วิสัยทัศน์ พันธกิจ) 2.2 วิเคราะห์สภาวะแวดล้อม (SWOT Analysis) 2.3 การกำหนดกลยุทธ์ (ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด) 2.4 มีแนวทางการขับเคลื่อนให้เกิดการปฏิบัติ (แผนปฏิบัติงาน) 3. ทำแบบมีส่วนร่วม เป็นที่ยอมรับร่วมกันในหน่วยงาน 4. ทำแล้วต้องนำไปใช้ได้จริง (ไม่เพ้อฝันหรือเลื่อนลอย อยู่บนพื้นฐานของข้อมูลและความเป็นจริง)

18 การจัดทำยุทธศาสตร์หน่วยงานย่อย
กิจกรรม ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.52 ก.พ. มี.ค.-ก.ย. แผนปฏิบัติงานการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 1. กรมกำหนดแนวทางและแบบฟอร์ม การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ และแจ้งหน่วยงานต่างๆ 2. หน่วยงานดำเนินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม 3. จัดทำแผนยุทธศาสตร์เป็นเอกสาร ที่สมบูรณ์และส่งกรม (ภายใน 31 ม.ค. 52) 4. รายงานความก้าวหน้าการจัดทำ แผนยุทธศาสตร์ส่งกรมทุกเดือน (ทุกวันที่ 5 ของเดือน) 5. สร้างความเข้าใจร่วมกัน ภายในหน่วยงาน 6. ดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ และใช้ประโยชน์ในการบริหาร

19 ขั้นตอนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์หน่วยงาน
เตรียมการ การระบุสิ่ง ที่มุ่งหวัง (วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์หลัก/วัตถุประสงค์หลัก) การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม (SWOT Analysis) แนวทาง การขับเคลื่อนให้เกิดการปฏิบัติ การกำหนด กลยุทธ์ (Strategies) จัดตั้งคณะทำงาน รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะห์ศักยภาพและทิศทางของหน่วยงาน หน่วยงานมุ่งหวังอะไร มีนโยบายและแผนยุทธศาสตร์อื่นๆ อะไรบ้างที่ต้องคำนึงถึง มีเป้าประสงค์หลัก /วัตถุประสงค์หลักอะไร/อย่างไร ปัจจัยภายใน Strength จุดแข็งWeakness จุดอ่อน ปัจจัยภายนอกOpportunity โอกาส Threat อุปสรรค ความคาดหวังของ Stakeholders จะต้องทำอะไรเพื่อให้บรรลุวัตถุ ประสงค์หลักและวิสัยทัศน์ กำหนดเป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และแนวทางการดำเนินงาน ในแต่ละกลยุทธ์ มาตรการในการขับเคลื่อน แผนปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล

20 ข้อควรคำนึง ในการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม (SWOT Analysis)
การสะท้อนปัญหาและความต้องการของประชาชนผู้รับบริการ (ลูกค้า) เป็นข้อเท็จจริงที่มีข้อมูลสนับสนุนและมีความเชื่อมโยงกับนโยบาย บทบาท ภารกิจของกรมฯ และของหน่วยงาน การวิเคราะห์ไม่ควรเปิดกว้างมากเกินไป ควรพุ่งเป้า ไปที่สิ่งที่มุ่งหวัง คือ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์หลักเป็นสำคัญ หมายเหตุ : บางครั้งการกำหนดยุทธศาสตร์ไม่จำเป็นต้องเกิดขึ้น จากการวางแผนแต่อาจเกิดขึ้นจากการตอบสนอง ต่อบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น นโยบายรัฐบาล

21 สาระสำคัญในแผนยุทธศาสตร์หน่วยงาน
แผนยุทธศาสตร์ของ......(ชื่อหน่วยงาน)...... พ.ศ 1. วิสัยทัศน์ 2. พันธกิจ 3. ยุทธศาสตร์

22 4. รายละเอียดประกอบยุทธศาสตร์
สาระสำคัญในแผนยุทธศาสตร์หน่วยงาน (ต่อ) 4. รายละเอียดประกอบยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินงาน

23 สาระสำคัญในแผนยุทธศาสตร์หน่วยงาน (ต่อ)
5. แผนปฏิบัติงาน ยุทธศาสตร์ โครงการ/กิจกรรม ปริมาณงาน ผู้รับ ผิดชอบ หน่วยนับ ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554

24 แบบฟอร์มรายงานความก้าวหน้า
ลำดับที่ กิจกรรม ดำเนิน การแล้ว ยังไม่ได้ดำเนิน การ หมายเหตุ 1. การจัดตั้งคณะทำงาน 2. การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 3. การกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ 4. การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม SWOT Analysis 5. การกำหนดยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์ 6. การกำหนดตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน 7. การกำหนดแผนปฏิบัติงาน 8. การจัดส่งแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงานให้กรม 9. การสร้างความเข้าใจร่วมกันในหน่วยงาน 10. การดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ และการใช้ประโยชน์ในการบริหาร

25 การจัดทำยุทธศาสตร์หน่วยงานย่อย
ประเด็นสำคัญ คู่มือนี้เป็นเพียงแนวทาง ไม่ได้บังคับให้ใช้ ท่านสามารถเลือกวิธีการจัดทำได้ตามที่ถนัด แต่ต้องทำลงในรูปแบบที่กำหนด ตามแบบฟอร์มที่ 1 และส่ง 31 ม.ค. 2552 ต้องรายงานความก้าวหน้า ตามแบบฟอร์มที่ 2 ทุกวันที่ 5 ของเดือน ม.ค. / ก.พ. / มี.ค. 2552

26 สาระสำคัญของการพัฒนาการเกษตร

27 สาระสำคัญของการพัฒนาการเกษตร
นโยบายระดับต่างๆ + ยุทธศาสตร์ระดับต่างๆ สรุปสาระสำคัญของการพัฒนาการเกษตร 1. การพัฒนาเกษตรกร สถาบันเกษตรกร 2. การพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตร 3. การพัฒนาปัจจัยการผลิต ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม 4. เรื่องเร่งด่วน เฉพาะกิจ 5. การสนับสนุนการดำเนินงาน การบริหารจัดการ

28 สาระสำคัญของการพัฒนาการเกษตร
ความสอดคล้องของแผนระดับต่างๆ (1) แผนยุทธศาสตร์กรม แผนพัฒนาเกษตร กษ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 10 1. นโยบายสำคัญ 2. เศรษฐกิจพอเพียง 3. เข้มแข็งเกษตรกร 4. ผลิตและจัดการสินค้า 5. บริการ ช่วยเหลือ 6. พัฒนาองค์กร 1. สร้างความเข้มแข็ง 2. พัฒนาสินค้าเกษตร 3. บริหารจัดการ 1. สร้างความเข้มแข็ง 2. ปรับโครงสร้าง เศรษฐกิจ 3. ธรรมาภิบาล

29 สาระสำคัญของการพัฒนาการเกษตร
ความสอดคล้องของแผนระดับต่างๆ (2) แผนฯ 4 ปี กรม (ร่าง) แผนฯ 4 ปี กษ. แผนบริหารฯ รัฐบาล 1. นโยบายสำคัญ 2. เศรษฐกิจพอเพียง 3. เข้มแข็งเกษตรกร 5. บริการ ช่วยเหลือ 6. พัฒนาองค์กร 4. ผลิตและจัดการสินค้า 1. พัฒนาเกษตรกร 2. พัฒนาการผลิต 1. นโยบายเร่งด่วน 4. นโยบายเศรษฐกิจ(ปรับโครงสร้างเกษตร)

30 สาระสำคัญของการพัฒนาการเกษตร
ผลสัมฤทธิ์ของการส่งเสริมการเกษตร (ดูเอกสารประกอบ) OUTPUT OUTCOME IMPACT 1. เกษตรกรได้รับการพัฒนาความเข้มแข็ง 2. กลุ่ม/ชุมชนได้รับการพัฒนาความเข้มแข็ง 3. เกษตรกรได้รับการพัฒนาด้านการผลิต 4. เกษตรกรได้รับบริการ - นำไปปฏิบัติ - ฯลฯ - นำไปปฏิบัติในกลุ่ม - พึงพอใจ - ใช้ชีวิตศก.พอเพียง - อยู่ดีมีสุข ฯลฯ ผลิตโดยใช้ศก.พอเพียง สามารถแข่งขัน ฯลฯ -

31 สาระสำคัญของการพัฒนาการเกษตร
การนำไปปฏิบัติ ใคร ทำอะไร เพื่ออะไร จังหวัด เขต ศูนย์ปฏิบัติการ กอง สำนัก โครงการกรม โครงการจังหวัด โครงการท้องถิ่น งานตามบทบาทหน้าที่ - งานมอบหมาย เกิดผลสัมฤทธิ์ ของ การส่งเสริมการเกษตร (ไม่โดยทางตรง ก็โดยทางอ้อม)

32 สาระสำคัญของการพัฒนาการเกษตร
การนำไปปฏิบัติ : อำนาจหน้าที่ของหน่วยงาน สพท. เขต จังหวัด ศึกษา พัฒนาการถ่ายทอด ดำเนินการปชส. วางแผนพัฒนาบุคลากร ดำเนินการพัฒนาบุคลากร พัฒนา สนับสนุนศบกต. ร่วมปฏิบัติ สนับสนุน อื่นๆ (ดูJobของส่วน กลุ่ม ฝ่ายด้วย) ศึกษา วิจัย พัฒนา ฝึกอบรม ถ่ายทอด (จนท.) ฝึกอาชีพ บริการ (เกษตรกร) ศูนย์กลางวิชาการ ประสานวิชาการ ศึกษา วางแผน ติดตามฯ ร่วมปฏิบัติ สนับสนุน อื่นๆ - ส่งเสริม พัฒนาเกษตรกร ส่งเสริมประสานถ่ายทอด กำกับ ดูแล สนับสนุนกษอ. ร่วมปฏิบัติ สนับสนุน อื่นๆ (ต้องดูบทบาท สนง.กษอ.ด้วย)

33 สรุป

34 สรุป ยุทธศาสตร์คืออะไร สิ่งที่มุ่งเน้น ไม่ใช่งานทั้งหมดที่ต้องทำ
มี 4 องค์ประกอบสำคัญ 1. ระบุสิ่งที่มุ่งหวัง 2. วิเคราะห์สภาพแวดล้อม 3. กำหนดกลยุทธ์ 4. กลไกการขับเคลื่อน

35 ยุทธศาสตร์กรมส่งเสริมการเกษตร
สรุป ยุทธศาสตร์กรมส่งเสริมการเกษตร มี 6 ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. ตอบสนองนโยบายรัฐบาล 2. การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง 3. เสริมสร้างความเข้มแข็งเกษตรกร 4. ส่งเสริมการผลิตและจัดการสินค้า 5. การให้บริการและช่วยเหลือเกษตรกร 6. พัฒนาองค์กร บุคลากร ระบบงาน ทำเพื่อใช้ประโยชน์ในหลายๆเรื่อง สอดคล้องแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี

36 การจัดทำยุทธศาสตร์หน่วยงานย่อย
สรุป การจัดทำยุทธศาสตร์หน่วยงานย่อย ทำตามที่เห็นว่าเหมาะสม ดูบทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน ใช้พัฒนาภายในหน่วยงาน นำไปใช้จริง

37 สาระสำคัญของการพัฒนาการเกษตร
สรุป สาระสำคัญของการพัฒนาการเกษตร มี 5 เรื่องหลักๆ ที่ต้องทำ 1. การพัฒนาเกษตรกร สถาบันเกษตรกร 2. การพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตร 3. การพัฒนาปัจจัยการผลิต ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม 4. เรื่องเร่งด่วน เฉพาะกิจ 5. การสนับสนุนการดำเนินงาน การบริหารจัดการ ผลสัมฤทธิ์ของการส่งเสริมการเกษตร (Output Outcome Impact) การนำไปปฏิบัติ (ใคร ทำอะไร เพื่ออะไร)

38 ภาคผนวก

39 นโยบายรัฐบาล (ส่วนที่เกี่ยวข้อง)
นโยบายเร่งด่วน 1.1.2 ภาคใต้ 1.1.5 ฟื้นฟูเศรษฐกิจ 1.1.7 เร่งลงทุน 1.2.2 เร่งด่วนรองรับแรงงาน 1.2.3 ช่วยเหลือว่างงาน 1.2.6 รายได้เศรษฐกิจฐานราก 1.2.7 มาตรการราคาสินค้าเกษตร 1.2.8 ระบบตลาด กระจายสินค้า 1.2.9 สภาเกษตรกร นโยบายปรับโครงสร้างภาคเกษตร เพิ่มประสิทธิภาพ ประมง ปศุสัตว์ ดูแลราคา ตลาด เพิ่มมูลค่า มั่นคงอาหาร แหล่งน้ำ คุ้มครองรักษาพื้นที่ ภาคเกษตรเข้มแข็ง

40 นโยบายกระทรวง นโยบายดำเนินงาน นโยบายพัฒนาเกษตร 1. เร่งรัดพระราชดำริ
2. ยึดภารกิจหลัก บูรณาการ 3. ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. ประสานงานอย่างจริงจัง 5. ปรับปรุงกฎหมาย 6. เร่งรัดเบิกจ่ายงบประมาณ นโยบายพัฒนาเกษตร เร่งด่วน 1. ราคาสินค้าตกต่ำ 2. แรงงานคืนถิ่น 3. ตลาดสินค้าชุมชน 4. บริหารน้ำและชลประทาน 5. แก้ปัญหาร้องเรียนเกษตรกร 6. สภาเกษตรกร

41 นโยบายกระทรวง (ต่อ) นโยบายพัฒนาเกษตร (ต่อ) นโยบายพัฒนาเกษตร (ต่อ)
ปรับโครงสร้างภาคเกษตร ด้านพัฒนาเกษตรกร 1. ระบบประกันความเสี่ยง 2. กองทุนสวัสดิการเกษตรกร 3. ทะเบียนเกษตรกร 4. หนี้สิน ฟื้นฟูอาชีพ 5. สถาบันเกษตรกร 6. เกษตรกรรุ่นใหม่ 7. เกษตรกรอาสาสมัคร นโยบายพัฒนาเกษตร (ต่อ) ปรับโครงสร้างภาคเกษตร ด้านพัฒนาการผลิต 8. ยุทธศาสตร์ระยะยาวรายสินค้า 9. ระบบผลิตและคุณภาพผลผลิต 10. ระบบตรวจรับรองมาตรฐาน 11. เขตส่งเสริม 12. วิจัยพันธุ์ 13. วิจัยเทคโนโลยีที่เหมาะสม 14. เจรจาการค้า 15. พืชทดแทนพลังงาน 16. ประมงนอกน่านน้ำ

42 นโยบายกระทรวง (ต่อ) นโยบายพัฒนาเกษตร (ต่อ) สรุปนโยบายกระทรวง
ปรับโครงสร้างภาคเกษตร ด้านพัฒนาปัจจัยการผลิต 17. ชลประทาน 18. โลจิสติกส์ 19. คุ้มครองที่ดิน 20. จัดที่ดินทำกินให้เกษตรกร 21. จัดรูปที่ดิน 22. ฟื้นฟูดินเสื่อมโทรม 23. ระบบสารสนเทศ สรุปนโยบายกระทรวง นโยบายดำเนินงาน นโยบายพัฒนาการเกษตร ก. เร่งด่วน ข. ปรับโครงสร้างภาคเกษตร - ด้านพัฒนาเกษตรกร - ด้านพัฒนาการผลิต - ด้านพัฒนาปัจจัยการผลิต

43 นโยบายกรม 1. มุ่งเน้นผลสำเร็จของงานเป็นสำคัญ งานพระราชดำริ งานนโยบาย มอบหมาย งานตามแผนงบประมาณ งานตามบทบาทหน้าที่ 2. พัฒนาองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง 2.1 แผนยุทธศาสตร์ 2.2 มุ่งผลสัมฤทธิ์ 2.3 จัดการความรู้ 2.4 สารสนเทศ 2.5 ควบคุมภายใน ความเสี่ยง 2.6 พัฒนาบุคลากร 2.7 คุณธรรม จริยธรรม 3. ปรับกระบวนการทำงานให้มีประสิทธิภาพ 3.1 บูรณาการการทำงาน 3.2 ระบบส่งเสริมการเกษตร 3.3 เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์

44 เกษตรกรอยู่ดีมีสุขอย่างยั่งยืนตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
งานตามแผนงบประมาณ มุ่งเน้นผลสำเร็จของงาน งานพระราชดำริ งานนโยบาย งานอื่นๆ งานมอบหมาย งานตามแผนพัฒนาจังหวัด/อปท. ฯลฯ งานตามบทบาทหน้าที่ เกิดผลสำเร็จของงานภายใต้การใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินงานและการบริหารจัดการทุกระดับ การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ปรับกระบวนการทำงาน การบูรณาการการทำงาน ระบบส่งเสริมการเกษตร ปรับกระบวนการทำงาน แผนยุทธศาสตร์องค์กร การบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ พัฒนาองค์กร การจัดการความรู้ การควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาบุคลากร คุณธรรมและจริยธรรม พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ

45 นายพีรพร พร้อมเทพ โทร. 02-940-6026 E-mail : plan20@doae.go.th
สวัสดี แนวทางการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ระดับหน่วยงานย่อย และ ความสอดคล้องของแผนยุทธศาสตร์ นายพีรพร พร้อมเทพ โทร


ดาวน์โหลด ppt นายพีรพร พร้อมเทพ 20 มีนาคม 2552 KM สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google