งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภาระหน้าที่ของFacilitator

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภาระหน้าที่ของFacilitator"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภาระหน้าที่ของFacilitator
เกริ่นนำ กำกับทิศทางการทำงานของกลุ่ม ดูแลกระบวนการกลุ่ม ประเมินผล และกำกับ กระบวนการประชุม

2 กระตุ้นด้วยการใช้คำถาม
Facilitatorมืออาชีพ เป็นกลาง กระตุ้นด้วยการใช้คำถาม ตระหนักในภารกิจหน้าที่ และบทบาทของตนเอง

3 ไม่ตัดสินผู้อื่น ทำงานร่วมกับคนอื่น ไม่พัวพันเป็นส่วนหนึ่งของปัญหา กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ภายในกลุ่ม

4 บทบาทของ Facilitator ผู้ให้คำปรึกษาด้านเทคนิควิธี ผู้สนับสนุนให้เกิดความเข้าใจร่วมกัน ผู้สร้างความร่วมมือภายในกลุ่ม ผู้ช่วยเหลืออำนวยความสะดวก ผู้ช่วยแก้ปัญหา

5 ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับFacilitator
โฆษกของกลุ่ม ครูผู้บรรยาย กรรมการผู้ตัดสิน ผู้สังเกตการณ์ ผู้นำหรือเจ้านาย ผู้เชี่ยวชาญในเนื้อหา

6 การเตรียมการล่วงหน้าก่อนการประชุม
1.รู้กลุ่มเป้าหมาย มาจากที่ใด ทำงานอะไร ลักษณะการรวมกลุ่ม จากหน่วยเดียวกัน จากผู้ที่ปฏิบัติงานหน้าที่เดียวกัน จากประเภทของกิจกรรมที่กลุ่มต้องดำเนินการ จากผู้มีความสนใจร่วมกันในเรื่องนั้น ๆ

7 2. รู้ว่าผู้เข้าร่วมประชุมต้องการอะไร
ความประสงค์ ความตั้งใจ ความคาดหวัง 3. รู้ว่าผู้เข้าร่วมประชุมรู้อะไรมาแล้วบ้าง ความรู้เกี่ยวกับประเด็นปัญหา ความรู้พื้นฐานในเรื่องที่เกี่ยวข้อง ความรู้เชี่ยวชาญพิเศษในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

8 4. รู้ว่าอาจมีความขัดแย้งเกิดขึ้นในเรื่องใดได้บ้าง
ความขัดแย้งระหว่างบุคคล ความขัดแย้งอันเกิดจากเนื้อหาของเรื่องที่กำลังประชุม ความขัดแย้งที่เกิดจากภาวะตึงเครียด 5. รู้ว่าจะเกิดผลอะไรเมื่อการประชุมเสร็จสิ้นแล้ว การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างขององค์กร พลังและการมีส่วนร่วมในการดำเนินการแก้ปัญหา กลุ่มมีสมรรถนะในการตัดสินใจที่จำเป็นในการดำเนินการเพียงใด

9 ทักษะที่จำเป็นของ (Facilitator)
กระตุ้นความคิด การสร้างบรรยากาศ การนำการอภิปราย การใช้คำถาม การฟัง การจับประเด็น สรุปความคิด ให้ข้อมูลย้อนกลับ สังเกต อ่านพฤติกรรมของผู้ร่วมประชุม การประนีประนอมแก้ไขข้อขัดแย้ง ควบคุมการประชุมให้ดำเนินไปตามขั้นตอน การใช้ Tools ค่าง ๆ เช่น Card Method

10 หลักการ Visualization การเสนอด้วยสื่อที่รับรู้ด้วยการมองเห็น
ต้องเห็นได้ชัดเจน หลักการ ใช้สี รูปร่างหรือขนาดช่วย แยกความแตกต่าง  ใช้ระยะห่างช่วยในการจัดกลุ่ม  วางแผนการใช้ให้เห็นภาพรวม

11 ขั้นตอน CARD TECHNIQUE เพื่อสำรวจ/รวบรวมความเห็นจากผู้เข้าร่วมประชุม
1. อธิบายกติกาของเทคนิค 2. เสนอคำถาม 3. ให้เขียนคำตอบลงในการ์ด 4. นำการ์ดไปติดบอร์ด 5. จัดกลุ่มโครงสร้างคำตอบ 6. ขยายความ อภิปรายเพิ่มเติม 7. สรุป 8. เชื่อมโยงคำตอบไปสู่ประเด็นต่อไป

12 ระยะต่าง ๆ ของการดำเนินการประชุม
1. เกริ่นนำ 2. ดำเนินการประชุมอภิปราย 3. ประเมินผล

13 นำเสนอ อธิบายให้เห็นภาพและเข้าใจตรงกันว่า
ระยะที่ 1 : เกริ่นนำ นำเสนอ อธิบายให้เห็นภาพและเข้าใจตรงกันว่า เราจะประชุมกันในเรื่องอะไร วัตถุประสงค์ของการประชุมเพื่ออะไร เราจะมีขั้นตอน รูปแบบ วิธีการอย่างไร บทบาทของทั้ง 2 ฝ่ายคืออะไร ผลผลิต ผลลัพธ์อะไรบ้างที่ควรได้จากการประชุม “ You will never get the second chance to make the first impression”

14 ระยะที่ 2 : การดำเนินการประชุม
Facilitator จะนำทาง กำกับ หรือสอดแทรก โดย กำหนดโครงสร้างและกระบวนการ การประชุม สร้างความมั่นใจว่า วิธีการต่าง ๆ ที่กำหนด และตกลงกันไว้ได้ถูกนำมาใช้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน สร้างความมั่นใจว่าการประชุมจะได้ผลตามที่ ต้องการและทุกคนในกลุ่มเห็นภาพผลสรุปที่ได้ ดูแลกระบวนการกลุ่มและบรรยากาศในกลุ่ม

15 ระยะที่ 3 : การประเมินผล
สรุปให้กลุ่มเห็นภาพรวมของผลที่ได้ จากการประชุม จัดโครงสร้าง แปลผลหรือทำความเข้าใจ พร้อมวิเคราะห์ผลที่ได้ ดึงผลสรุปต่าง ๆ ที่จะนำไปสู่ขั้นตอนต่อไป เชื่อมโยงไปสู่ขั้นตอนที่ผู้เข้าร่วมประชุมต้อง นำไปดำเนินการต่อไป

16 การตั้งคำถามของ Facilitator
วัตถุประสงค์ : เพื่อสำรวจความรู้ ความคิดเห็น ความรู้สึก ฯลฯ ของผู้เข้าประชุม ขั้นตอน 1.โยนคำถามที่ชัดเจนและเตรียมไว้อย่างดีแล้วไปยังกลุ่มผู้เข้าประชุม 2. ฟังคำตอบ (duplication, understanding and acknowledge) 3. เขียนย่อคำตอบของผู้เข้าประชุมลงใน white board หรือแผ่นใส 4. ตั้งคำถามตรงไปยังผู้เข้าประชุมคนต่อไป 5. เมื่อทุกคนตอบคำถามแล้ว สรุปภาพรวมจัดโครงสร้างคำตอบ สรุป คำตอบ

17 คำถามเป็นเครื่องมือช่วยกระตุ้นความคิด -อธิบายให้รายละเอียด
-วิทยานิพนธ์ระดับ ปริญญาเอก คำถามเปิด คำถามปิด ตอบว่า”ใช่” หรือ”ไม่ใช่” -กระตุ้นให้มีการอภิปราย และมีความคิดกว้างขวาง -ถามตรง เข้าประเด็น -จำกัดคำตอบ -ผู้ตอบได้เลือกและมี แนวคิดของตัวเอง -ผู้ถามจะควบคุมด้วย การจำกัดตัวเลือก -กระตุ้นให้ผู้ตอบได้สำรวจ แนวคิดต่าง ๆ -ผู้ถามควบคุม สถานการณ์การเรียนรู้ -คำตอบหลากหลาย

18 คำถามเปิด -กระตุ้นให้มีการอภิปรายและมีความคิด
กว้างขวาง มีแนวคิดของตัวเอง -กระตุ้นให้ผู้ตอบได้สำรวจแนวคิดต่าง ๆ รวมทั้งมีคำตอบที่หลากหลาย ตัวอย่าง เราจะแก้ปัญหานี้ได้อย่างไร? คุณสมบัติของผู้นำที่ดีมีอะไรบ้าง?

19 -คำถามตรง และเข้าประเด็น
คำถามปิด -คำถามตรง และเข้าประเด็น -จำกัดคำตอบ ผู้ถามจะควบคุม ด้วยการจำกัดตัวเลือก ตัวอย่าง คุณตื่นกี่โมง? คุณคิดว่าเราควรเปิดสถาบันพรุ่งนี้ไหม?

20 ถามเพื่อให้นำไปปฏิบัติ
ใคร อะไร เมื่อไร ที่ไหน/ขอให้อธิบาย ถามความรู้ ถามให้ประเมิน ถามความเข้าใจ ให้ตัดสินใจโดย คำนึงถึงคุณค่า อธิบาย ตีความ จัด ระบบ เลือกข้อมูล จัด กลุ่มความคิด เล่าต่อ คำถาม 6 ประเภท ถามให้สังเคราะห์ ถามเพื่อให้นำไปปฏิบัติ -สร้างผลผลิตใหม่ -สร้างความคิดใหม่ เป็นของตัวเอง -รวม ผสมความคิด เพื่อให้เกิดความ คิดรวบยอดใหม่ ให้แก้ปัญหา นำข้อมูล ไปใช้ให้เกิดผลลัพธ์ ใช้ข้อมูล กฎ หลักการ ถามให้วิเคราะห์ ให้แบ่ง ให้หา โครงสร้าง ระบุสิ่ง จูงใจ แยกส่วนย่อย

21 แยกประเด็นคำถามตามความซับซ้อนของคำตอบ
1.คำถามเชิงโวหาร (Rhetorical Questions) ไม่ต้องการคำตอบ เป็นการอธิบายโดยใช้คำถามเกริ่น นำของผู้พูด “เราทุกคนทราบดีว่าหัวหน้างานต้องเป็นตัวอย่างที่ดีใช่ไหม?” 2.คำเพื่อหาข้อมูล (Information Questions) ใช้เมื่อต้องการข้อมูลเฉพาะเจาะจง ไม่ต้องมีการ วิเคราะห์ หรือมีความเห็น “องค์การเรียนรู้หมายถึงอะไร?”

22 3.คำถามนำ (Leading Questions)
เมื่อต้องการข้อมูลเฉพาะ มีการบอกใบ้คำตอบใน คำถาม นำทางให้เกิดแนวคิด “การปฏิบัติต่อผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยความนับถือและยอมรับ จะช่วยให้ท่านได้รับการยอมรับมากขึ้นหรือไม่? อย่างไร?” 4.คำถามเจาะลึก (Probing Questions) ช่วยให้มีการประยุกต์ใช้หลักการและแนวคิด ช่วยให้ได้พัฒนาและประเมินความคิด “ทำไมถึงเป็นอย่างนั้น?”

23 ตัวอย่างคำถามเจาะลึก (Probing Questions)
คำถาม 1 ทำไมกรมไม่ทำงานให้ดีกว่านี้? คำถามเจาะลึก 1 “อยากให้อธิบายว่างานไหนที่ยังไม่ได้มาตรฐาน หรือการบริการไหนที่ยังไม่ดี” คำถามเจาะลึก 2 “ช่วยกรุณาระบุมาตรฐาน หรือเกณฑ์วัดที่จะใช้ ประเมินว่า กรมทำงานดีหรือน่าพอใจ” “ถ้าจะประเมินงานของกรม จะประเมินจาก อะไรได้บ้าง?”

24 เมื่อถูกถามคำถาม 1.ทวนคำถาม 2. ถามย้อนกลับให้คิด
3.ถามเจาะลึกเพื่อหาข้อมูลให้ชัดเจน 4.กระตุ้นให้กลุ่มอภิปราย 5.ตอบคำถามโดยตรง 6.ยังไม่ตอบถ้าจะทำให้เบี่ยงเบนจากประเด็นหลัก 7.ไม่ให้ความสำคัญกับคำถามที่ไม่เหมาะสม (ท้าทาย ถามให้จนมุม ออกนอกประเด็น ฯลฯ) 8. ยอมรับว่าไม่รู้ (แต่จะหาข้อมูลเพิ่มเติมให้)

25 ตัวอย่างการถามย้อนกลับให้คิด
คำถามที่ 1 “ก็รู้ว่าการใช้วิธีการ E-Auction ยังแก้ปัญหาทุจริตการประมูลไม่ได้ แล้วทำไมรัฐบาลไม่แก้ไขหรือหาวิธีใหม่ล่ะครับ” F. สรุปคำถามอีกครั้งแล้วถามย้อนกลับให้คิด “คุณสมชายถามว่าใช้ E-Auctionก็ยังแก้ปัญหาทุจริตการประมูลไม่ได้ แล้วทำไมรัฐบาลไม่แก้ไขหรือหาวิธีใหม่ อยากให้พวกเราพิจารณาว่า มีเหตุผลอะไรที่ไม่ทำอย่างนั้น”

26 ถ้าเจอคนที่..... ท่านจะทำอย่างไร? 1.อยากให้เห็นว่าตัวเองสำคัญ
คิดว่ารู้เรื่องนั้นดี ใช้คำถามเพื่อแสดงว่าตัวเองรู้ 2.พูดอยู่คนเดียว ถามอยู่คน เดียว ไม่เปิดโอกาสให้คนอื่น ได้มีส่วนร่วม 3.ออกนอกลู่นอกทางถาม ยืดยาว หรือพูดยืดยาวหลาย ประเด็น ออกนอกเรื่อง

27 ถ้าเจอคนที่..... ท่านจะทำอย่างไร? 4.ก้าวร้าว ระดมคำถามเพื่อ
ต้อนให้จนมุม “ศักดิ์ศรี ของข้าราชการตกต่ำ อย่างนี้ จะให้เป็นผู้นำการ เปลี่ยนแปลงอีก จะให้มี กำลังใจทำงานกันได้ อย่างไร? 5.คนเงียบ ขี้อาย ไม่ออก ความเห็น ไม่มีคำถาม

28 ก า ร สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ข่าวสาร ผู้ส่งสาร ผู้รับสาร
การพูดทวนซ้ำจากสิ่งที่ได้ยิน โดยรับและเก็บข้อมูลไว้ ครบถ้วนทุกกระบวนความ ผู้ส่งสาร ผู้รับสาร ความเข้าใจ การแปลความหมายของ ถ้อยคำได้อย่างถูกต้อง ข่าวสารที่ส่งประกอบ ด้วยข้อเท็จจริงอะไรบ้าง วิธีการนำเสนอข่าวสาร เวลาพูดคนฟังจะมองด้านนี้ด้วย การยอมรับ การแสดงให้ผู้ส่งสารว่าสารที่ส่ง มานั้นเป็นที่เข้าใจของผู้รับ การเปิดเผยตนเอง ด้านที่เป็นข้อเท็จจริง การร้องขอ (Appeal) ผู้สื่อสารเสนอ (PRESENT)ตนเอง ในขณะส่งสารอย่างไร ข่าวสาร ผู้ส่งสารต้องการบรรลุ วัตถุประสงค์อะไร มีส่วนที่เป็นจิตใต้สำนึก ด้านที่แสดงความสัมพันธ์ สิ่งที่ผู้ส่งสารเปิดเผย เกี่ยวกับตนเอง ผู้รับควรทำ คิด หรือ รู้สึกอย่างไร สารที่ส่งบอกอะไรบ้าง เกี่ยวกับความสัมพันธ์ ระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ ผู้ส่งสารปฏิบัติต่อ ผู้รับสารอย่างไร

29 ถ้าคุณมีเวลา ผมต้องการให้คุณทำเดี๋ยวนี้ คุณมีข้อเลือกจะทำช่วงที่มีเวลาช่วงใดก็ได้ ทำให้เสร็จเย็นนี้นะ ถ้าไม่เสร็จคุณต้องอยู่ค่ำ คุณมีเวลาถึง16.30 น.

30 พ่อ ข้างบ้านเขาพาลูกเมียไปเที่ยวกันทุกเดือนเลยล่ะ
พี่เจอฝุ่นทีไรจามทุกทีเลย สร้อยเส้นนี้สวยนะ สงสัยคงจะแพงเชียวหละ

31 การฟังอย่างมีประสิทธิภาพ
มองเห็นโลกหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างที่ผู้พูดมองและคิดเหมือนที่เขาคิด ไม่คำนึงถึงความคิดของตัวเราเอง จนกว่าจะแน่ใจว่าเราเข้าใจเขาอย่างแท้จริง ทำให้ผู้พูดรู้สึกว่า ผู้ฟังเข้าใจในความรู้สึกของเขา ยอมรับเขา ไม่ว่าเขาจะพูด จะคิดหรือเป็นอย่างไร

32 การได้ยินต่างจากการฟัง
การฟังนั้นรวมถึงสิ่งที่ได้ยินแต่ยังมีสิ่งอื่นมากกว่านั้น เราได้ยินด้วยหูของเรา แต่เราฟังด้วยใจ การฟังรวมถึงการให้ความหมายแก่สิ่งที่เราได้ยิน และทำความเข้าใจในสิ่งที่ผู้พูดต้องการสื่อ นี่คือการฟังอย่างตั้งใจ

33 อุปสรรคของการฟังเกิดจากอะไร?
คำบางคำให้ความหมายชัดเจน บางคำคลุมเครือ ความเข้าใจขึ้นกับการตีความ/ประสบการณ์เดิมของผู้ฟัง ความมีสมาธิของผู้ฟัง ความช้าเร็วในการพูด อุปสรรคด้านภาษา ความดังค่อยของเสียงที่พูด การด่วนสรุป/สรุปเร็วเกินไป

34 ประโยชน์ของ Active Listening
 ได้เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ เพิ่มเติมมากขึ้น เคารพความคิดกันและกัน ฟังและรับแนวคิดใหม่ ๆ  ฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น  สร้างสัมพันธภาพความไว้วางใจซึ่งกันและกัน  ผู้พูดได้พัฒนาความคิดและแนวทางแก้ปัญหาด้วยตนเอง  ระงับการใช้อารมณ์ในการสนทนา

35 การทวนความ หมายถึง การที่ผู้ฟังพูดในสิ่งที่ผู้พูดได้บอกเล่า หรือพูดไปแล้วอีกครั้งหนึ่ง โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลง ในแง่ของภาษา และไม่มีการเพิ่มเติมความคิดเห็นของผู้ฟังลงไป

36 ผลที่เกิดจากการใช้ทักษะการทวนความ
1. จูงใจหรือกระตุ้นให้พูดต่อ 2. ตรวจสอบว่าผู้ฟังเข้าใจสิ่งที่พูดว่าอย่างไร 3. ผู้พูดเกิดความชัดเจนในประเด็นที่พูด 4. รู้สึกว่าตนเองได้รับการยอมรับ 5. ไม่พูดซ้ำในสิ่งที่พูดแล้ว

37 การสรุปความ เป็นการรวบรวมสิ่งที่ผู้ฟังได้ยินได้ฟังจากผู้พูดเมื่อจบการพูด ในประเด็นสำคัญของความคิด ความรู้สึกที่ผู้พูดสื่อออกมา แล้วประมวลเป็นคำพูดสั้น ๆ ให้ได้ใจความสำคัญทั้งหมดเพื่อแสดงว่าเข้าใจผู้พูดอย่างแท้จริง

38 องค์ประกอบที่ทำให้การพูดประสบความสำเร็จ
1. ศึกษาสถานการณ์ถูกต้อง 2. เป้าหมายชัดเจน 3. เข้าใจเรื่องที่พูดดี 4. เรียงลำดับเรื่องเป็นขั้นเป็นตอน 5. ข้อมูลสนับสนุนและอ้างอิงสมบูรณ์ 6. สร้างบรรยากาศเป็นกันเอง 7. น้ำเสียงดัง ชัดเจน 8. มีทักษะอ่านภาษาท่าทาง

39 9. ภาษาที่พูดถูกต้อง 15. ท่าทางประกอบดี 10. จังหวะการพูดดี 16. ยิ้มแย้มแจ่มใส 11. สบสายตาผู้ฟังทั่วถึง 17. ตรงต่อเวลา 12. มีทักษะการฟังดี 18. รู้จักใช้โสตทัศนูปกรณ์ 13. จริงใจ 14. เชื่อมั่น

40 ผู้พูด ผู้ฟัง พูด ได้ยิน สิ่งที่อยากจะบอกขึ้นอยู่กับ
ลักษณะประจำตัว (บุคลิก) บทบาท ค่านิยม อารมณ์ พลังขับให้เกิดการกระทำ ในขณะนั้น สิ่งที่อยากจะบอกขึ้นอยู่กับ ลักษณะประจำตัว (บุคลิก) บทบาท ค่านิยม อารมณ์ พลังขับให้เกิดการกระทำ ในขณะนั้น ฉันอยาก จะพูด เขาพูด เขาหมายความว่า ฉันจะพูด ฉันเข้าใจ สิ่งที่ฉันเข้าใจ


ดาวน์โหลด ppt ภาระหน้าที่ของFacilitator

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google