งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

2 Influenza virus

3 Influenza virus Influenza virus group A Influenza virus group B H1N1
Pandemic H1N1 (2009) H3N2 Human H3N2 -Swine Origin Influenza Virus (U.S.A., 2011) (similarity HA 87%, NA 91%) H5N1 (Highly pathogenic avian influenza virus) Influenza virus group B

4 Epidemic curve of confirmed Avian Influenza H5 human cases
in Thailand from 2004 to present. (25 cases with 17 dead in 4 waves) cases จำนวน (ราย) Acknowledge Avian influenza (AI) in poultry and human 8/12 Declared AI free mobilize village health volunteers Declared AI free 4/5 3/3 2/5 2004 2005 2006 Remark: Notification and investigation in 2004 3244 Notification and investigation in 2005 5300 Notification and investigation up to 19 October 2006 Kumnuan Ungchusak,BOE ,Thailand

5 วิธีตรวจวิเคราะห์ ทางห้องปฏิบัติการ

6 ห้องปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยไข้หวัดนก สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุขและศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 14 แห่ง วิธีวิเคราะห์ปกติ/ตรวจเบื้องต้น ตรวจหาสารพันธุกรรมไวรัสไข้หวัดนก H5 gene ด้วยวิธี PCR (Influenza A ----> H5) 1-2 วัน วิธีตรวจยืนยันหากพบสารพันธุกรรมไวรัสไข้หวัดนก วิธี PCR โดยใช้ primers ต่อยีน H5 จำนวน 2 ชุด หรือ นำไปเพาะเชื้อแล้วนำไปตรวจพิสูจน์ด้วยวิธี Immunofluorescence Assay (IFA) หรือ gene sequencing HA NA

7 การตรวจหาเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่นกวิธี PCR
สกัดสารพันธุกรรมจากตัวอย่างผู้ป่วย เพิ่มจำนวนสารพันธุกรรม ด้วย 2 วิธี PCR Realtime PCR M A B -actin 244 bp 820 bp 626 bp TH/676/05

8 การแยกเชื้อและพิสูจน์เชื้อ
เป็นวิธีมาตรฐาน ใช้เวลาตรวจนาน 3-14 วัน เชื้อที่แยกได้มีความสำคัญต่องานวิจัยและการพัฒนาองค์ความรู้ในแขนงต่างๆ Viral isolation by cell culture/ egg inoculation

9 เซลล์เพาะเลี้ยงที่ติดเชื้อเปลี่ยน รูปร่าง (CPE)
ตรวจพิสูจน์เชื้อด้วยวิธี IFA Confirm by IFA เซลล์เพาะเลี้ยงที่ติดเชื้อเปลี่ยน รูปร่าง (CPE) เซลล์เพาะเลี้ยงที่ติดเชื้อย้อมสีด้วยวิธี IFA เห็นติดสีเรืองแสงสีเขียว

10 11 January 2012

11 วิเคราะห์หาสายพันธุ์
Strain analysis by HI test Using WHO HI reagents kit Strain analysis by Gene sequencing Annually send isolates to confirm at WHO cc in Australia and US – CDC ( 100 isolates/ year/WHOcc )

12 การตรวจหาภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสไข้หวัดนก H5N1
เป็นการตรวจด้วยวิธี micro neutralization test (micro NT) เพื่อเปรียบเทียบระดับภูมิคุ้มกันต่อ H5N1 ที่เพิ่มขึ้นระหว่างเริ่มมีอาการ และหลังจากนั้น 2 สัปดาห์หรือนานกว่านั้น หากมีระดับสูงขึ้นมากกว่า 4 เท่า ก็แสดงว่ามีการติดเชื้อ H5N1 มาก่อน

13 การตรวจหาแอนติบอดี ด้วยวิธี Micro -NT 6. Fix cells and run NP ELISA
2. Add Sera 1. Treat sera 3. Dilute sera 56oC 30 min/RDE 1H @37°C 4. Add Virus 5. MDCK Cells 100 TCID50/well 3.0x104 cells/well 16-22 hr @37°C At the time of the H5N1 outbreak in humans in 1997, it quickly became evident that the traditional HI lacked sensitivity for the detection of human Ab to the H5 virus At the time we were developing the microneutralization assay….This is a flowchart representing the steps involved in the microneutralization assay. 5. ELISA for the detection of viral Ag Absence of color indicates neutralization 100 50 25 12.5 6.25 3.12 1.5 VC Back HA # 2 - Normal + Ctrls - + + - + - - 6. Fix cells and run NP ELISA Protocol developed from US-CDC

14 ตัวอย่างส่งตรวจ

15 ตัวอย่างสำหรับการตรวจหาสารพันธุกรรม /แยกเชื้อ
สารคัดหลั่งจากระบบทางเดินหายใจ ระยะเริ่มมีอาการ ให้เก็บ Nasopharyngeal swab, nasal swab, throat swab ผู้ที่มีอาการปอดบวม ปอดอักเสบ หรือมีอาการติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนส่าง ควรเก็บ nasopharyngeal aspirate/wash , bronchoalveolar lavage , tracheal aspirates

16 วิธีการเก็บตัวอย่าง

17 การเก็บ nasopharyngeal aspirate

18 การเก็บไม้ป้ายลำคอ (Throat swab)
ไม้พันสำลี ไม้กดลิ้น การเก็บไม้ป้ายลำคอ (Throat swab) VTM

19 การเก็บ Nasopharyngeal swab
การเก็บ NPS การเก็บ Nasopharyngeal swab

20 กรณีที่ไม่สามารถส่งตรวจภายใน 48 ชม. ให้เก็บในตู้แช่แข็ง – 70 0ซ
เมื่อเก็บตัวอย่างแล้วต้องแช่ในกระติกพร้อมน้ำแข็ง ทันที และส่งห้องปฏิบัติการภายใน 48 ชม. กรณีที่ไม่สามารถส่งตรวจภายใน 48 ชม. ให้เก็บในตู้แช่แข็ง – 70 0ซ การนำส่งตัวอย่างสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ

21 ตัวอย่างครั้งที่ 2 เวลาห่างจากครั้งแรก 2 สัปดาห์ หรือนานกว่านั้น
ตัวอย่างเพื่อการตรวจหาแอนติบอดีจำเพาะต่อ H5N1 ซีรั่ม เก็บตัวอย่างเลือด 2 ครั้ง ครั้งละประมาณ 10 มล. ปั่นแยกซีรั่มใส่หลอดไร้เชื้อ ปิดจุกให้สนิท ตัวอย่างครั้งที่ 1 เมื่อเริ่มมีอาการ เก็บรักษาไว้ที่ -20oC หรือในช่องแช่แข็ง ตัวอย่างครั้งที่ 2 เวลาห่างจากครั้งแรก 2 สัปดาห์ หรือนานกว่านั้น นำส่งตัวอย่างทั้งสองครั้งโดยแช่ในกระติกน้ำแข็ง

22 วิธีการนำส่ง

23 การบรรจุและนำส่งตัวอย่าง
ไม้ swab ในหลอด VTM เลือดหรือซีรั่มใส่หลอดไร้เชื้อ

24 สถานที่ส่งตรวจ

25 เครือข่ายห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
วิธีตรวจ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข (นนทบุรี) Virus isolation, PCR, gene sequencing ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 1 (ตรัง) PCR ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 2 (อุดรธานี) ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 3 (ชลบุรี) ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 4 (สมุทรสงคราม) ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 5 (นครราชสีมา) ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 6 (ขอนแก่น) ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 (อุบลราชธานี) ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 (นครสวรรค์) PCR, Sequencing ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 9 (พิษณุโลก) ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 10 (เชียงใหม่) ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 11 (สุราษฎร์ธานี) ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 12 (สงขลา) ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 13 (เชียงราย) ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 14 (ภูเก็ต) ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 14 แห่ง ห้องปฏิบัติการเคลื่อนที่

26 Facility in Mobile Lab, DMSc, Thailand
Real time RT-PCR

27 Network SRRT Hospital Veterinarians Laboratory Laboratory Pathologist
So, The AI surveillance and response network in Thailand is now very systematized with the hospitals, Laboratory, SRRTs, Veterinarians, and pathologists. Pathologist

28 รวม 7 โรงพยาบาล และ 1 ศูนย์บริการสาธารณสุข
ระบบเฝ้าระวังเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่เฉพาะพื้นที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ พื้นที่รับผิดชอบ 7 จังหวัด รวม 7 โรงพยาบาล และ 1 ศูนย์บริการสาธารณสุข

29 ผลการตรวจเชื้อดื้อยา (ราย)
อัตราเชื้อดื้อยาต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิด A (pH1N1) ในประเทศไทย ระหว่างตุลาคม 2553 ถึง สิงหาคม 2554 กลุ่มอายุ (ปี) ผลการตรวจเชื้อดื้อยา (ราย) ร้อยละ sensitive resistant 0-5 91 1 1.09 6-60 364 0.27 >60 12 0.00 รวม 467 2 0.43 (อัตราเชื้อดื้อยาต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ชนิด A (pH1N1) ระหว่างปี พบร้อยละ 1.2)

30 Reporting system Immediate Response
Establish flexible communication channels in the network to ensure information dissemination and feedback. Update the knowledge of local technical personnel. Maintain records and data.

31 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google