งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด
การจัดการขยะ ในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด โดย ฐิฎา ไกรวัฒนพงศ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่๑

2 ขยะในภาวะน้ำท่วม

3 ทำไมต้องมีการจัดการขยะ ?
ขยะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของสัตว์และแมลงนำโรค ทำให้เกิดกลิ่นเหม็นก่อความรำคาญ ทำให้มีน้ำเสียที่เกิดจากขยะมูลฝอยที่กองทิ้งไว้ ซึ่งมีทั้งสารอินทรีย์ สารอนินทรีย์ เชื้อโรคและสารพิษต่างๆ

4 สถานการณ์ชนิดของขยะมูลฝอย
รีไซเคิล ขยะ 30 % อันตราย 3 ขยะอื่นๆ อินทรีย์ 64 องค์ประกอบขยะมูลฝอย พลาสติก 17% ถุงพลาสติก ขวด โฟม ซองบรรจุอาหาร กระดาษ 8% หนังสือพิมพ์ นิตยสาร กล่องน้ำ ผลไม้ บรรจุภัณฑ์กันกระแทก แก้ว 3% ขวดเครื่องดื่มชูกำลัง ขวด เครื่องปรุงรส เครื่องสำอางค์ ขวดเครื่องดื่มแบบวันเวย์ โลหะ/อลูมิเนียม 2% เศษอลูมิเนียมเครื่องครัว กระป๋องอาหาร เครื่องดื่ม Reduce Reuse Recycle : 3R Technical Meeting, November 4, 2009, Century Park Hotel, Bangkok, Thailand 4

5 ขยะย่อยสลายได้ (Computable waste)
ประเภทของขยะมูลฝอย ขยะย่อยสลายได้ (Computable waste)

6 2. ขยะทั่วไป (General waste)
คือ ขยะที่ย่อยสลายยากและไม่คุ้มค่าสำหรับการนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ เช่น ห่อพลาสติกใส่ขนม ถุงพลาสติกบรรจุผงซักฟอก พลาสติกห่อลูกอม ซองบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ถุงพลาสติก โฟม ฟอล์ย เป็นต้น

7 3. ขยะรีไซเคิล (Recyclable waste) คือ

8 4.ขยะอันตราย (Hazardous waste)

9 5.ขยะติดเชื้อ วัสดุ ซาก หรือชิ้นส่วนมนุษย์ สัตว์ จากการแพทย์
วัสดุที่ใช้ในการให้บริการทางการแพทย์ ผ้า ท่อยาง ฯลฯ ของมีคมที่ใช้ในกิจกรรมการแพทย์ เข็ม ใบมีด ฯลฯ เชื้อและอาหารเลี้ยงเชื้อและวัสดุที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ วัคซีนที่ทำจากเชื้อโรคและภาชนะบรรจุ มูลฝอยทุกประเภทที่มาจากห้องติดเชื้อร้ายแรง

10 แนวทางการจัดการขยะที่ถูกต้องภายหลังน้ำลด
การเตรียมตัว จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ให้พร้อม: ถังขยะ กระบะแยกของ ถุงดำ ไม้กวาด ที่โกยผง อาจจัดเตรียมไฟฉายและไม้ยาวไว้ช่วยคัดแยะขยะด้วย แต่งกายให้รัดกุม สวมรองเท้ายาว หรือรองเท้าหุ้มส้น ถุงมือยาง และหน้ากาก เพื่อหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสิ่งสกปรกโดยตรง

11 การจัดการขยะในภาวะน้ำท่วม
1.การคัดแยกขยะ ขวดแก้ว: คัดแยกประเภทของขวด รวบรวมและขาย เพื่อนำไปรีไซเคิล กระป๋องอลูมิเนียม: รวบรวมทำความสะอาดและขาย เพื่อนำไปรีไซเคิล กระดาษหนังสือพิมพ์ นิตยสาร: รวบรวมและขายให้โรงงานผลิตกระดาษ ขวดน้ำพลาสติก ภาชนะพลาสติก: รวบรวมและขายเพื่อนำไปรีไซเคิล โฟมกล่องอาหาร:  รวบรวมและส่งบริษัทรีไซเคิล หรือติดต่อหน่วยงานที่สามารถดำเนินการได้นำไปทำลายอย่างถูกวิธี

12 การจัดการขยะในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด
2.ขยะมูลฝอยประเภทเศษอาหารที่เหลือจากการบริโภค(ขยะเปียก)รวมทั้งกล่องโฟม ถุงพลาสติก ที่ใช้ใส่อาหารแล้ว แต่ละวัน ทุกวัน ทิ้งในถุงดำมัดปากถุงให้แน่น ป้องกันสัตว์และแมลงนำโรค รวบรวมไว้ที่พักขยะชั่วคราวที่น้ำท่วมไม่ถึง รอหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องนำไปกำจัดหลังน้ำลด

13 การจัดการขยะในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด
3.ไม่ควรทิ้งขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล ซากสัตว์และของเสียลงน้ำ เพราะจะทำให้เกิดการแพร่กระจาย ของน้ำเสียและเชื้อโรค 4. ควรกำหนดจุดแขวนขยะให้ประชาชนรับรู้ เช่น เสาไฟฟ้า ต้นไม้ กำแพงหรือรั้วบ้าน เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บรวบรวมไปกำจัด

14 การจัดการขยะในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด
5.ควรแยกขยะติดเชื้อออกจากขยะทั่วไป (ขยะเปียกและขยะแห้ง) ราดน้ำยาฆ่าเชื้อโรคสำหรับขยะติดเชื้อ เก็บไว้ที่ที่น้ำท่วมไม่ถึง และนำไปกำจัดหลังน้ำลดอย่างถูกหลักวิชาการต่อไป 6.กรณีที่ไม่ต้องการเก็บขยะไว้ในบ้านเมื่อรวบรวมได้ส่วนหนึ่ง การกำจัดด้วยตนเอง สามารถทำได้โดยขุดหลุมลึก เมตร ก้นหลุมสอบเข้า ความกว้างของปากหลุมขึ้นอยู่กับปริมาณ ขยะ นำขยะเปียกมาใส่ที่หลุม โรยปูนขาวและกลบด้วยดินหนาอย่างน้อย 6 ซม. หลุมที่ขุดต้องอยู่ห่างแหล่งน้ำอย่างน้อย 30 เมตร

15 การจัดการขยะในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด
7.กรณีพบกองขยะเปียกบูดเน่า ให้รีบนำปูนขาวโรยปิดทับและรวบรวมใส่ในถุงดำ มัดปากถุงให้แน่นป้องกันสัตว์ และแมลงพาหะนำโรค รวบรวมส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปกำจัดอย่างถูกหลักสุขาภิบาลหรือขุดหลุมลึก เมตร ก้นหลุมสอบเข้า ความกว้างของปากหลุมขึ้นอยู่กับปริมาณขยะ นำขยะเปียกมาใส่ที่หลุม โรยด้วยปูนขาวและกลบทับด้วยดินหนาอย่างน้อย 6 ซม.หลุมที่ขุดต้องอยู่ห่างแหล่งน้ำอย่างน้อย 30 เมตร

16 การจัดการขยะในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด
8. นำขยะมาทำน้ำหมักชีวภาพ ขยะเศษอาหาร 3 กก.หมักกับ กากน้ำตาล 1 กก. น้ำสะอาด10 ลิตร น้ำยา EM หัวเชื้อ100 ซีซี(1/2 แก้วน้ำ) ไว้ผลิตน้ำหมักชีวภาพสำหรับเติมในโถส้วม ลดกลิ่นเหม็น น้ำเน่าเสีย

17 การจัดการขยะในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด
8.การใช้น้ำหมักชีวภาพ (EM น้ำหมักพด.6 เมกกะคลีนพลัส)พ่นดับกลิ่นกองขยะโดย - น้ำหมัก EM แบบขยาย หรือ น้ำหมักชีวภาพจากขยะ 20 ซีซี ผสมน้ำ 10 ลิตร ฉีดพ่นกองขยะให้ทั่ว เพื่อทำให้ขยะอินทรีย์ถูกย่อยสลายยุบตัวลงได้เร็วขึ้น และลดกลิ่น จำนวนแมลงวัน - ใช้เมกกะคลีนพลัสชนิดน้ำ 2 ลิตร หรือชนิดผง 2 กก. ผสมน้ำ 5 ลบ.ม. ฉีดพ่นกองขยะ เพื่อดับกลิ่นเหม็น

18 ขยะหลังน้ำท่วม

19 THE END


ดาวน์โหลด ppt ในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google