งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศูนย์สารสนเทศและประกันคุณภาพการศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศูนย์สารสนเทศและประกันคุณภาพการศึกษา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ศูนย์สารสนเทศและประกันคุณภาพการศึกษา
หน่วยพัฒนา ระบบสารสนเทศ Data Wisdom นำผลการวิเคราะห์ ช่วยวางแผนพัฒนา กระบวนการนำเข้า จัดเก็บวิเคราะห์พื้นฐาน Information Knowledge หน่วยประกันคุณภาพ การศึกษา หน่วยวิจัยสารสนเทศและ ประเมินผลการจัดการศึกษา วิเคราะห์เจาะลึก ช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหาร

2 วิจัยสารสนเทศและประเมินผลการจัดการศึกษา
วัตถุประสงค์หลัก ดำเนินกิจกรรมวิเคราะห์และวิจัยผลการดำเนินงานของภาควิชา หน่วยงาน และของคณะโดยภาพรวม ด้านการจัดการศึกษา การบริหารเงินงบประมาณ ภาระงานบุคลากร ฯ รวบรวมผลการวิจัย เสนอผู้บริหารเพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบ แนวทางการพัฒนาแผนการศึกษา แผนธุรกิจ และการบริหาร งานของคณะ เผยแพร่ผลงานวิจัยและข้อมูลสารสนเทศผ่านระบบ Internet

3 บุคลากร  บุคลากรหลัก สากันย์ สุวรรณการ นักวิชาการสถิติ  เครือข่าย คุณปราณี หะซัน งานบริการการศึกษา คุณศิริพร จงประเสริฐ งานบริหารและธุรการ คุณคมสัน ยอดสุทธิ งานนโยบายและแผน คุณวิไลพร ธรรมตา งานบริการงานวิจัยฯ คุณสุดใจ สันธทรัพย์ หน่วยการเจ้าหน้าที่ คุณวรีลักษณ์ วรรณวิจิตร งานคลังและพัสดุ คุณเสาวลักษณ์ เลิศฐิติกุล หน่วยฝึกงาน เจ้าหน้าที่วิชาการ ภาควิชา

4 ผลงานในปีการศึกษา บุคลากรหลัก การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (พ.ย. 46 : สากันย์ สุวรรณการ และคณะ) ความต้องการและความพึงพอใจต่อการฝึกงานคอมพิวเตอร์ของนักศึกษาภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร (มี.ค. 47 : สากันย์ สุวรรณการ) การวิเคราะห์คุณภาพบัณฑิตปีการศึกษา คณะเกษตรศาสตร์(พ.ค. 47 : สากันย์ สุวรรณการ และคณะ) ผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจในการฝึกงานของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 และ 2 คณะเกษตรศาสตร์ (มิ.ย. 47 : สากันย์ สุวรรณการ และคณะ)

5 ผลงานในปีการศึกษา เครือข่าย  งานบริการงานวิจัยและพัฒนา การวิเคราะห์ศักยภาพโครงการวิจัยคณะเกษตรศาสตร์ที่ดำเนินการ ในปี (มิ.ย. 47 : วิไลพร ธรรมตา) งานบริการการศึกษา การรับนักศึกษาโครงการอุดมศึกษาเพื่อทายาทเกษตรกรระหว่างปีการศึกษา 2535 – 2546 (มิ.ย. 47 : ปราณี หะซัน)

6 ผลงานในปีการศึกษา เครือข่าย (ต่อ) งานคลังและพัสดุ การวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารการคลัง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (มี.ค. 47 : วรีลักษณ์ วรรณวิจิตร) หน่วยการเจ้าหน้าที่ - การปฏิรูปโครงสร้างการบริหาร (หลอมรวมภาควิชา) (2547) - การวิเคราะห์สภาพและแนวโน้มอัตรากำลังคนของ คณะเกษตรศาสตร์ (ธ.ค.45 : สุดใจ สันธทรัพย์ นำผลมาใช้ในการวางแผนปี 46)

7  การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
(พ.ย. 46 : สากันย์ สุวรรณการ และคณะ)

8  การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่าย อินเตอร์เน็ต (พ.ย. 46 : สากันย์ สุวรรณการ และคณะ) วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงความต้องการและความคิดเห็น ของนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์เกี่ยวกับการเรียนรู้ผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และการใช้คอมพิวเตอร์ในห้อง IT เพื่อจัดสื่อส่งเสริมการเรียนรู้ให้เหมาะสมและเพียงพอกับความต้องการของผู้เรียน ผลการศึกษา สุ่มตัวอย่างนักศึกษาระดับปริญญาตรี จากแต่ละชั้นปี รวม 220 คน ความพอเพียงและประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ การฝึกทักษะด้านการใช้ Software ให้นักศึกษามากขึ้น นักศึกษาส่วนใหญ่ต้องการเนื้อหาบนเว็บ ที่เป็นประโยชน์ต่อการรับรู้ข้อมูล ข่าวสาร เทคโนโลยีใหม่ ๆ ทางการเกษตร เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน การหางานทำ พัฒนาการสอนผ่านเว็บให้มีสาระน่าสนใจ มีการประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษาทราบอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง H

9  ความต้องการและความพึงพอใจต่อการฝึกงานคอมพิวเตอร์ ของนักศึกษาภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร (มี.ค. 47 : สากันย์ สุวรรณการ )

10  ความต้องการและความพึงพอใจต่อการฝึกงานคอมพิวเตอร์
ของนักศึกษาภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร (มี.ค. 47 : สากันย์ สุวรรณการ) วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อทราบความต้องการและความพึงพอใจต่อการฝึกงานคอมพิวเตอร์ ของนักศึกษา ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร ผลการศึกษา นักศึกษาภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร ชั้นปีที่ 2-4 (รหัส 43 – 45) ตอบแบบสอบถามจำนวน 103 คน คิดเป็น 83.1%

11 ตารางสรุป : ค่าเฉลี่ยความต้องการของนักศึกษาชั้นปีที่ 2-4 (รหัส 43 – 45)
รายการ ค่าเฉลี่ย 3 อันดับแรก* 1. การฝึกความชำนาญหรือปฏิบัติการและทักษะ 2.5 2. ความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับ 2.4 3. การได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้อย่างมีความสุข 2.3 4. การบูรณาการกับวิชาอื่น 5. การสร้างสรรค์ประสบการณ์ใหม่ให้แก่นักศึกษา 6. ความเหมาะสมและวิธีการถ่ายทอดความรู้ * มากที่สุด (3) มาก (2) น้อย (1)

12 ตารางสรุป : ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ ของนักศึกษาชั้นปีที่ 3-4 (รหัส 44 – 45)
รายการ ค่าเฉลี่ย 3 อันดับแรก* 1. ความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับ 3.0 2. ความหลากหลายของหัวข้อและกิจกรรม 2.9 3. การได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้อย่างมีความสุข 2.8 4. การบูรณาการกับวิชาอื่น 5. การปรับปรุงตนเองและยอมรับผู้อื่น 6. การฝึกความชำนาญหรือปฏิบัติการและทักษะ 7. การสร้างสรรค์ประสบการณ์ใหม่ให้แก่นักศึกษา 8. ความเหมาะสมของสถานที่ฝึกงาน * มากที่สุด (4) มาก (3) ปานกลาง(2) น้อย (1) H

13  การวิเคราะห์คุณภาพบัณฑิตปีการศึกษา2545-46
คณะเกษตรศาสตร์ (พ.ค. 47 : สากันย์ สุวรรณการ และคณะ)

14  การวิเคราะห์คุณภาพบัณฑิตปีการศึกษา 2545-46. คณะเกษตรศาสตร์ (พ. ค
 การวิเคราะห์คุณภาพบัณฑิตปีการศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ (พ.ค. 47 : สากันย์ สุวรรณการ และคณะ) วัตถุประสงค์ เพื่อทราบภาวะการทำงาน และการเปลี่ยนแปลงของลักษณะอาชีพปัจจุบัน เพื่อทราบคิดเห็นของบัณฑิตต่อหลักสูตร เพื่อทราบความพึงพอใจของผู้จ้างที่มีต่อคุณภาพบัณฑิต ผลการศึกษา ศึกษาบัณฑิตระดับปริญญาตรี รวม 274 คน คิดเป็น 100% ผู้จ้างบัณฑิตที่ตอบกลับ 50 คน คิดเป็น 30% ของบัณฑิตที่ทำงานแล้ว

15 รองาน 16 . 4 % . 3 ทำงาน 61 % ศึกษาต่อ 22 . 3 % ลักษณะงานของบัณฑิต
ภาวะการทำงานของบัณฑิต ลักษณะงานของบัณฑิต รองาน 16 . 4 % . 3 ทำงาน 61 % ศึกษาต่อ 22 . 3 % ได้งานและศึกษาต่อรวม 83.6% มากกว่า เป้าหมายของ มช. ปี 2547 ตั้งไว้ 72% (KPI 9) บัณฑิตใช้เวลาหางานเฉลี่ย 2.67 เดือน

16 ความคิดเห็นของบัณฑิตต่อหลักสูตร
ได้รับความรู้และประสบการณ์จากหลักสูตรค่อนข้างมาก ควรฝึกเพิ่มในวิชาพื้นฐาน 3 อันดับแรกคือ ภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร์ และสถิติ ควรเพิ่มเวลาฝึกงานหรือฝึกปฏิบัติการ ทั้งในและนอกสถานที่ ความพึงพอใจของผู้จ้างที่มีต่อคุณภาพบัณฑิต ผู้จ้างมีความพึงพอใจต่อคุณภาพบัณฑิต อยู่ในระดับมาก คิดเป็น 44.2% ผู้จ้างพึงพอใจด้านการรู้จักกาละเทศะและการมีสัมมาคารวะ และด้านการรู้จักประนีประนอมและความมีน้ำใจ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 3.9* ผู้จ้างพึงพอใจด้านความสามารถในการใช้ภาษาต่างประเทศ น้อยที่สุด มีค่าเฉลี่ย 3.0* รองลงมา คือ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงาน และความเป็นผู้นำ มีค่าเฉลี่ย 3.2* ผู้จ้างเห็นบัณฑิตคณะเกษตรศาสตร์ ดีพอ ๆ คนอื่นหรือสถาบันอื่น คิดเป็น 42.1% ผู้จ้างเห็นบัณฑิตคณะเกษตรศาสตร์ ดีกว่าส่วนมาก คิดเป็น 38.6% * มากที่สุด=5 มาก=4 ปานกลาง=3 น้อย=2 น้อยที่สุด=1 H

17  ผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจในการฝึกงานของนักศึกษา
ชั้นปีที่ 1 และ 2 คณะเกษตรศาสตร์ (รหัส , ) (มิ.ย. 47 : สากันย์ สุวรรณการ และคณะ)

18 นักศึกษาชั้นปีที่ 1 (รหัส 4608...)
 ผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจในการฝึกงานของนักศึกษา ชั้นปีที่ 1 และ 2 คณะเกษตรศาสตร์ (รหัส46,45) (มิ.ย. 47 : สากันย์ สุวรรณการ และคณะ) วัตถุประสงค์ ศึกษาผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจของนักศึกษาปีที่ 1 และ 2 ทีมีต่อการฝึกงาน เพื่อใช้แนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิชาฝึกงานแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ กิจกรรมการฝึกงาน สำหรับ 1. ฝึกอบรมคุณธรรม จริยธรรม  นักศึกษาชั้นปีที่ 1 (รหัส ) (ฝึก 8-12 มีนาคม 2547) จำนวน 267 คน 2. ฝึกห้องสมุด 3. ฝึกการอยู่ร่วมกัน 4. ฝึกงานโครงการ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 (รหัส ) (ฝึก15-19 พฤษภาคม 2547) จำนวน 277 คน 5. ฝึกทำงานเป็นทีม

19 รายการประเมินผลสัมฤทธิ์ โดยผู้ควบคุม
ผลการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ รายการประเมินผลสัมฤทธิ์ โดยผู้ควบคุม (ปี 2 ประเมินการฝึกทำงานเป็นทีม / ปี 1 ประเมินการฝึกการอยู่ร่วมกัน) คะแนนเฉลี่ย* ปี 2 (รหัส45) ปี 1 (รหัส46) 1. ความสามารถในการปรับตัวและเรียนรู้งานของนักศึกษา 3.51 3.54 2. ความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม 3.63 3. ความใส่ใจและกระตือรือร้นในการทำงาน 3.40 3.62 4. ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 3.50 5. ความประพฤติและการรักษาวินัย 3.46 3.57 6. ความเป็นผู้นำ การกล้าแสดงออกและเชื่อมั่นในตนเอง 3.32 7. การรู้จักกาลเทศะ และการมีสัมมาคารวะ 3.47 3.65 8. ความมีมนุษยสัมพันธ์ และมีน้ำใจ 3.64 9. ความอดทนสามารถควบคุมอารมณ์และความเครียดได้ดี 3.38 10. การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้อย่างมีความสุข 3.52 รวม 3.61 *ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) น้อย (1)

20 รายการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา
ผลการศึกษา ความพึงพอใจ รายการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา (รวมการฝึกอบรมคุณธรรมจริยธรรม ฝึกห้องสมุด ฝึกการอยู่ร่วมกัน) คะแนนเฉลี่ย* ปี 2 (รหัส45) ปี 1 (รหัส46) 1. ความรู้และประสบการณ์ใหม่ที่ได้รับ 2.85 3.03 2. ความหลากหลายของหัวข้อ และกิจกรรม 2.67 2.66 3. วิธีการฝึกกระบวนการเรียนรู้ให้แก่นักศึกษา 2.73 2.86 4. ความเหมาะสมของสถานที่ฝึกงาน 2.92 3.09 5. ความเหมาะสมของวันเวลา/ระยะเวลาที่ฝึกงาน 2.70 2.71 6. ความเหมาะสมและวิธีการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร 2.82 2.98 7. ภาระค่าใช้จ่ายที่นักศึกษาต้องรับผิดชอบ 2.42 2.43 8. ความร่วมมือระหว่างกลุ่มนักศึกษา 2.81 2.90 9. ความร่วมมือของผู้ควบคุมดูแล 2.87 10. การปรับปรุงตนเองและยอมรับผู้อื่น 2.84 11. การได้เรียนรู้อย่างมีความสุข 2.80 2.88 12. การประชาสัมพันธ์ข่าวการฝึกงาน 2.60 2.59 รวม *มากที่สุด (4) มาก (3) ปานกลาง (2) น้อย (1) H

21 การวิเคราะห์ศักยภาพโครงการวิจัย คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ดำเนินการในปี 2544 – 2546 (มิ.ย. 47 : วิไลพร ธรรมตา) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ทราบถึงศักยภาพงานวิจัยของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในระยะ 3 ปีที่ผ่านมา ( ) 2. เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการกำหนดแนวทางการวิจัยของคณะเกษตรศาสตร์ต่อไป 3. เพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนการจัดทำการประกันคุณภาพการศึกษาด้านการวิจัย ของคณะเกษตรศาสตร์ ผลการศึกษา จากการศึกษา 247 โครงการ คิดเป็น 92.9% ของทั้งหมด 266 โครงการ

22 ผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี
ข้อมูลนักวิจัย สถานภาพนักวิจัย โครงการ (247) เป็นหัวหน้าโครงการ เป็นผู้ร่วมวิจัย เป็นที่ปรึกษา ผู้ช่วยนักวิจัย คน (434) เป็นนักศึกษา เป็นลูกจ้างของโครงการ เป็นเจ้าหน้าที่ของคณะฯหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การนำผลงานวิจัยไปใช้ในการเรียนการสอน และถ่ายทอดเทคโนโลยี ใช้ในการเรียนการสอน 74.9% นำไปถ่ายทอดเทคโนโลยี 49.4% ผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี โครงการ ร้อยละ เกษตรกร 98 39.7% เจ้าหน้าที่ของรัฐ 43 17.4% ผู้ประกอบการ และภาคเอกชน 41 16.6% นักเรียน นักศึกษา 16 6.5% H

23 สัมฤทธิ์ผลของการรับนักศึกษาโครงการอุดมศึกษาเพื่อทายาทเกษตรกรระหว่างปีการศึกษา 2535 – 2546 (มิ.ย. 47 : ปราณี หะซัน) วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงคุณภาพของนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ภายใต้โครงการอุดมศึกษา เพื่อทายาทเกษตรกรตั้งแต่ปีการศึกษา 2535 จนถึงปีการศึกษา 2546 ผลการศึกษา ศึกษาจากเอกสารบันทึกของโครงการรับทายาทเกษตร ปี 2535 – 2546 รวม 241 คน 1. นักศึกษารหัส 4508… สามารถเรียนต่อในชั้นปีที่ 2 ได้เป็นมากที่สุด คือ 97.83% นักศึกษารหัส 3808… สามารถเรียนต่อในชั้นปีที่ 2 ได้เป็นน้อยที่สุด คือ 74.42% 2. นักศึกษาจบตามหลักสูตร จำนวน คน คิดเป็น 86.31% 3. ได้รับเหรียญรางวัลเรียนดีตั้งแต่ปีการศึกษา รวม 37 เหรียญ H

24 การวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารการคลัง
ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2546 : วรีลักษณ์ วรรณวิจิตร) วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและรวบรวมสภาพและปัญหาการปฏิบัติงานด้านการบริหารการคลัง ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แนวทางในการพัฒนาการบริหารงานคลังของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อการรองรับการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ผลการศึกษา สุ่มตัวอย่างผู้ปฏิบัติงานงานคลังและพัสดุ และผู้เกี่ยวข้อง รวม 221 คน ปัจจัยที่มีอิทธิผลต่อการบริหารการคลัง 1. ด้านการบริหารองค์การ : การแบ่งอำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบของบุคลากร การจัดการกับปัญหาขององค์กรโดยการใช้การระดมความคิด และการรวมบุคลากรมาไว้ส่วนกลาง

25 2. ด้านความรู้ความสามารถของบุคลากรจากส่วนกลาง :
ผลการศึกษา (ต่อ) 2. ด้านความรู้ความสามารถของบุคลากรจากส่วนกลาง : สามารถให้คำแนะนำสร้างความเข้าใจให้แก่บุคลากรที่ปฏิบัติงาน มีการรับฟังปัญหา และร่วมหาแนวทางแก้ไข การจัดอบรมพัฒนาทักษะ มีการวางแผน ติดตามปรับวิธีการปฏิบัติงานให้เหมาะสมตามสภาพปัญหา 3. ด้านการจัดการบริหารสินทรัพย์: การวางแผน การกำหนดวิธีการแสวงหารายได้ในอนาคต เป็นสิ่งจำเป็นต่อการบริหารการคลัง รวมไปถึงความมีอิสระในการบริหารจัดการสินทรัพย์ 4. ด้านการตรวจสอบและควบคุม: การวางแผน การมอบหมายงาน การจัดระบบการควบคุมภายในที่ชัดเจนมีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิภาพและแนวทางการพัฒนาการบริหารการคลัง 5. ด้านการติดตามและประเมินผล: ต้องมีการรับฟังความคิดเห็นของผู้ปฏิบัติงาน และนำมาปรับปรุงวิธีการปฏิบัติให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการใช้จ่ายงบประมาณ การหารายได้ หรือแม้กระทั่งปัญหาของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน H

26 End


ดาวน์โหลด ppt ศูนย์สารสนเทศและประกันคุณภาพการศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google