งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ยินดีต้อนรับ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ยินดีต้อนรับ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ยินดีต้อนรับ
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ *** ยินดีต้อนรับ *** ผู้ปกครองนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ ปีการศึกษา 2548

2 ผู้บริหารคณะเกษตรศาสตร์
รศ.ดร.บุญเสริม ชีวะอิสระกุล คณบดีคณะเกษตรศาสตร์ รศ.ดุษฎี ณ ลำปาง รองคณบดีฝ่ายบริหาร รศ.ดร.สุชน ตั้งทวีวิพัฒน์ รองคณบดีฝ่ายบริการวิชาการ และถ่ายทอดเทคโนโลยี

3 ผู้บริหารคณะเกษตรศาสตร์
รศ.ถนอม คลอดเพ็ง รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา รศ.ดร.ดนัย บุณยเกียรติ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ รศ.ดร.อรรถชัย จินตะเวช รองคณบดีฝ่ายฝ่ายวิจัย

4 วิสัยทัศน์คณะเกษตรศาสตร์
“ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นสถาบันการศึกษาในระดับนานาชาติ ทางด้านการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ ที่คำนึงถึงความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มีความเข้มแข็งทางวิชาการ ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและคุณธรรม เพื่อการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ ” วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ ( ) Click Here!!

5 โครงสร้างคณะเกษตรศาสตร์
ภาควิชา ศูนย์/สถานี ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่ม ผลผลิตทางเกษตร ศูนย์วิจัยวิทยาการ หลังการเก็บเกี่ยว กีฏวิทยา พืชไร่ ปฐพีฯ พืชสวน ศูนย์วิจัยฯที่สูง ศูนย์บริการวิชาการ และถ่ายทอดเทคโนโลยี โรคพืช เศรษฐศาสตร์เกษตร ศูนย์ศึกษาและพัฒนา ลำไย “หริภุญชัย” สถานีฯ แม่เหียะ ส่งเสริมฯ สัตวศาสตร์ ศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศ สำนักงานเลขานุการ งานนโยบายและแผน งานบริหารและธุรการ งานคลังและพัสดุ งานบริการการศึกษา งานวิจัยและ วิเทศสัมพันธ์

6 พื้นที่คณะเกษตรศาสตร์
บริเวณคณะเกษตรศาสตร์ 77 ไร่ สถานีวิจัยและศูนย์ฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ 1,293 ไร่ สถานีวิจัยเกษตรเขตชลประทาน ไร่ สถานีวิจัยเกษตรที่สูงขุนช่างเคี่ยน ไร่ สถานีวิจัยการเกษตรที่สูงหนองหอย ไร่ สถานีวิจัยการเกษตรที่สูงดอยป่าเกี๊ยะ ไร่ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไย “หริภุญชัย” ไร่ รวม ,125 ไร่

7 ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ
ประเภท จำนวน (ห้อง) พื้นที่ (ตร.ม.) ห้องเรียน 42 3,314 ห้องปฏิบัติการ 118 8,980 ห้องสมุด 10 1,804 รวม 170 14,098

8 เครื่องมือ/อุปกรณ์การเรียนการสอน
ประเภท จำนวน คอมพิวเตอร์ 112 เครื่อง เครื่องมือ/อุปกรณ์เพื่อการค้นคว้าวิจัย (Lab กลาง) 41 รายการ ทรัพยากรสารนิเทศของห้องสมุดคณะฯ ** ห้องสมุดคณะเกษตรศาสตร์ ได้รับโล่รางวัลห้องสมุดดีเด่น จากสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย - หนังสือภาษาไทย 21,731 เล่ม - หนังสือภาษาต่างประเทศ 15,872 เล่ม - วารสารภาษาไทย 37 รายชื่อ - วารสารภาษาต่างประเทศ 16 รายชื่อ - หนังสือพิมพ์ภาษาไทย 6 รายชื่อ - หนังสือพิมพ์ภาษาต่างประเทศ 1 รายชื่อ - แฟ้มสารนิเทศเฉพาะเรื่อง 76 เรื่อง - ซีดีรอม 150 แผ่น - โสตทัศนวัสดุ 581 ม้วน ทรัพยากรสารนิเทศของห้องสมุดภาควิชา - หนังสือภาษาไทยและต่างประเทศ รวม 7,824 เล่ม

9 ทุนการศึกษา มีการจัดสรรกองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษาสำหรับนักศึกษาที่ผู้ปกครองมีรายได้ปีละไม่เกิน 150,000 บาท เฉลี่ยประมาณคนละ 45,000 บาทต่อปี โดยในปีการศึกษา 2547 ที่ผ่านมา มีนักศึกษาได้รับทุนกู้ยืมฯ ทั้งสิ้น 675 คน ในปีการศึกษา 2548 นี้ มีการจัดสรรเงินงบประมาณแผ่นดินจำนวน 500,000 บาท สำหรับเป็นทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษา เช่น ทุนทายาทเกษตรกร ทุนเรียนดี ฯลฯ ในปีการศึกษา 2548 นี้ มีการจัดสรรเงินงบประมาณเงินรายได้ของคณะฯ จำนวน 560,000 บาท สำหรับเป็นทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษา นอกจากนี้ยังมีทุนการศึกษาจากแหล่งอื่นๆ เช่น ทุนบริจาคจากศิษย์เก่าคณะเกษตรศาสตร์

10 คณาจารย์คณะเกษตรศาสตร์
** รวมคณาจารย์คณะเกษตรศาสตร์ทั้งสิ้น 103 คน

11 รางวัลเชิดชูเกียรติ และผลงานดีเด่นของคณาจารย์
ในปีการศึกษา 2547 มีคณาจารย์ที่ได้รับรางวัลและมีผลงานดีเด่น เช่น ศาสตราจารย์ ดร.พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ ได้รับคัดเลือกให้เป็นศิษย์เก่าดีเด่นของ Oklahama State University ศาสตราจารย์ ดร.เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม ได้รับเลือกเป็น AAAS Fellow จาก American Association for the Advancement of Science ศาสตราจารย์ ดร.เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม ได้รับรางวัลผลงานวิจัยถูกอ้างอิงสูงสุดในสาขาเกษตรศาสตร์ จาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) รองศาสตราจารย์ ดร.ประสาทพร สมิตะมาน ประสบความสำเร็จในการปลูกกล้วยไม้พันธุ์จิ๋วได้เป็นครั้งแรกในโลก รองศาสตราจารย์ ดร.เบญจพรรณ เอกะสิงห์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการของสถาบันทรัพยากรพันธุกรรมนานาชาติ ณ กรุงโรม ประเทศอิตาลี ระหว่างปี

12 ผลงานวิจัยของคณาจารย์ที่ได้รับการจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
เจ้าของผลงาน ระบบสนับสนุนการตัดสินใจผลิตมันสำปะหลัง : มันไทย ผศ.ดร.อรรถชัย จินตะเวช การจำลองผลกระทบการเปลี่ยนแปลงบรรยากาศโลกต่อการผลิตข้าวในลุ่มน้ำโขง การประมาณผลผลิตอ้อยด้วยแบบจำลองคอมพิวเตอร์ ระบบสนับสนุนการติดสินใจผลิตพืชในระดับท้องถิ่น ท้องทุ่งไทย การเพิ่มคุณภาพการสีโดยการใช้จุลธาตุบางชนิดและการเสริมธาตุไอโอดีน สังกะสีและเหล็กในเมล็ดข้าวและผลิตภัณฑ์แป้งข้าว ผศ.ดร.ศักดา จงแก้ววัฒนา การสะสมโปรตีนจำเป็นในเมล็ดข้าวเหนียวดำพันธุ์พื้นเมืองโบราณ รศ.ดร.ดำเนิน กาละดี เครื่องวัดทิศทางลมแสดงผลแบบตัวเลข รศ.สิทธิพร สุขเกษม การพัฒนาเครื่องมือตรวจวัดทางด้านอุตุนิยมวิทยาเกษตร : เครื่องวัดน้ำระเหย

13 การประกันคุณภาพการศึกษาของคณะเกษตรศาสตร์
คณะเกษตรศาสตร์ ได้รับการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีการพัฒนาคุณภาพการศึกษามาอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ ปีการศึกษา 2545 ผลการประเมินอยู่ในระดับ “ดีเด่น” ปีการศึกษา 2546 ผลการประเมินอยู่ในระดับ “ดีเด่น” และอยู่อันดับ 1 ใน 5 คณะของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่มีผลการประเมินสูงสุด

14 โควต้านักกีฬาและพิเศษ 10
กระบวนการผลิตบัณฑิต ทายาท เกษตรกร 50 ระบบอาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ประกอบการ โควตาภาคเหนือ 150 การเรียนการสอน กิจกรรมเสริมหลักสูตร บัณฑิตที่ พึงประสงค์ ทฤษฎี/ ปฏิบัติการ การฝึกงานแบบสหกิจศึกษา โควต้านักกีฬาและพิเศษ 10 พนักงานภาคเอกชน นักวิชาการ สกอ. 150 หน่วยฝึกงานนักศึกษา นักศึกษาใหม่ นักศึกษาเป็นศูนย์กลาง / PDCA / E-Learning

15 คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดเอนทรานซ์48 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ลักษณะงานอาชีพ สูงสุด ต่ำสุด สาขาวิชาวิทยาศาสตร์เกษตร(บางเขน) 299.11 190.74 สาขาวิชาการจัดการศัตรูพืช(บางเขน) 215.61 122.40 สาขาวิชาเคมีการเกษตร(บางเขน) 282.94 200.04 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์(บางเขน) 255.42 198.30 สาขาวิชาเกษตรศาสตร์(กำแพงแสน) 229.19 113.99 สาขาวิชาเกษตรกลวิธาน(กำแพงแสน) 224.00 155.69 สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพฯ(กำแพงแสน) 252.47 171.82 สาขาวิชาสัตวศาสตร์(กำแพงแสน) 267.21 181.26 เฉลี่ย 253.24 166.78

16 คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดเอนทรานซ์48 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขาวิชา สูงสุด ต่ำสุด สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ 272.80 175.63 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเกษตร 229.19 181.23 สาขาวิชาการประมง 215.05 172.26 สาขาวิชาทรัพยากรที่ดินและสิ่งแวดล้อม 212.13 180.81 เฉลี่ย 232.29 177.48 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สาขาวิชา สูงสุด ต่ำสุด สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร 240.99 201.33 สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ 246.05 181.49 เฉลี่ย 243.52 191.41

17 ผลงานดีเด่น และรางวัลที่นักศึกษาได้รับ เช่น
นักศึกษาภาควิชาสัตวศาสตร์ได้รับรางวัลดีเด่นการนำเสนอวิทยานิพนธ์ จำนวน 4 คน นักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาพืชไร่ ได้รับรางวัลดีเด่นการนำเสนอวิทยานิพนธ์ ในการสัมมนาวิชาการ โครงการเมธีวิจัยอาวุโส สกว. ด้านพืชไร่ และ RGJ Seminar Series XXVIII จำนวน 3 คน นักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาพืชไร่ ประสบผลสำเร็จในการสร้างข้าวพันธุ์ใหม่เสริมธาตุเหล็กวิจัยผสมข้าวดอกมะลิกับข้าวพื้นเมือง นักศึกษาปริญญาเอก ได้รับทุน Post-doctoral degree ณ University of Queenslands Australia 1 คน

18 ผลงานดีเด่น และรางวัลที่นักศึกษาได้รับ เช่น
นักศึกษาได้รับรางวัลเหรียญเรียนดี 40 คน นักศึกษาได้รับรางวัลเรียงความยอดเยี่ยมระดับชาติ 2 คน รางวัลผลการศึกษายอดเยี่ยมทางวิทยาศาสตร์ ระดับมหาวิทยาลัย ชั้นปีที่ 1 กลุ่มวิทยาศาสตร์การเกษตร จากมูลนิธิแถบ นีละนิธิ ฯลฯ

19 ภาวะการได้งานทำของบัณฑิต จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสอบถาม
ปีการศึกษา จำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบสอบถาม มีงานทำ ศึกษาต่อ กำลังรองาน จำนวน ร้อยละ 2544 111 56.35 30 15.22 56 28.43 2545 222 61.00 59 29.50 19 9.50 2546 168 61.30 61 22.30 45 16.40 2547 160 70.18 41 17.98 27 11.84 หมายเหตุ : เก็บข้อมูลจากบัณฑิตที่เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรในแต่ละปี

20 ลักษณะงานอาชีพของบัณฑิตปีการศึกษา 2546
จำนวน ร้อยละ รับราชการ 24 14.3 เอกชน 113 67.2 ธุรกิจของครอบครัว 14 8.3 ธุรกิจส่วนตัว (ผู้ประกอบการ) 8 4.8 ผู้ประกอบการ (ร่วมหุ้น) 1 0.6 อื่นๆ 6 3.6 ไม่ระบุ 2 1.2 รวม 168 100.0 หมายเหตุ : ข้อมูลปีการศึกษา 2547 อยู่ระหว่างดำเนินการ

21 ตัวอย่างศิษย์เก่าที่สร้างชื่อเสียงให้แก่คณะเกษตรศาสตร์
คุณยงยุทธ ติยะไพรัช ศิษย์เก่าดีเด่นด้านการเมืองการปกครอง ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง เลขาธิการนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คุณฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์ ศิษย์เก่าดีเด่นด้านการบริหารราชการ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

22 ตัวอย่างศิษย์เก่าที่สร้างชื่อเสียงให้แก่คณะเกษตรศาสตร์
ศาสตราจารย์ ดร.พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ ได้รับคัดเลือกให้เป็นศิษย์เก่าดีเด่นของ Oklahoma State Universityปัจจุบันดำรงตำแหน่ง อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คุณอภิรักษ์ โกษะโยธิน ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ผู้ว่าราชการจังหวัดกรุงเทพมหานคร

23 ตัวอย่างศิษย์เก่าที่สร้างชื่อเสียงให้แก่คณะเกษตรศาสตร์
คุณกำธร ล้อวงศ์งาม ศิษย์เก่าดีเด่นด้านธุรกิจการเกษตร การท่องเที่ยว ได้รับรางวัลนักบริหารดีเด่น สาขานักบริหารพัฒนาการท่องเที่ยว จากมูลนิธิเพื่อสังคมไทย ได้รับคัดเลือกให้เป็นนักธุรกิจดีเด่นแห่งปี จากนายกรัฐมนตรี คุณสิงห์ ตั้งเจริญชัยชนะ ศิษย์เก่าดีเด่นด้านธุรกิจการเกษตร - ได้รับโล่รางวัลจากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ด้านอุทิศเวลาในการร่วมสร้างสรรค์ประโยชน์แก่ส่วนรวม - ได้รับการพิจารณาจากสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ให้รับปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการอาหาร) ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

24 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ขอขอบคุณ วิสัยทัศน์คณะเกษตรศาสตร์ “ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นสถาบันการศึกษาในระดับนานาชาติ ทางด้านการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพที่คำนึงถึงความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มีความเข้มแข็งทางวิชาการ ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและคุณธรรม เพื่อการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ ”


ดาวน์โหลด ppt คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ยินดีต้อนรับ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google