งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานวิจัยเชิงบูรณาการของคณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "งานวิจัยเชิงบูรณาการของคณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 งานวิจัยเชิงบูรณาการของคณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อรรถชัย จินตะเวช ๓ มิถุนายน ๒๕๔๘

2 ทำวิจัยโดยแหล่งทุน “บูรณาการ”
ทำวิจัยแบบบูรณาการ หรือ ทำวิจัยโดยแหล่งทุน “บูรณาการ”

3 บูรณาการ = คิด-ทำ-สุข เห็นผลงานร่วมกัน
แหล่งทุนวิจัย (ตัวชี้วัดเป็นผลงานวิจัย) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะเกษตรศาสตร์ ความได้เปรียบด้านการจัดการ พื้นที่ และเวลา พันธกิจขององค์กร (Group Mission) ความชำนาญ (Competency) ตัวเรา ความเข้าใจ + หน้าที่

4 ความได้เปรียบเชิงคุณภาพ

5 งานวิจัยแบบสหสาขาวิชาการ
Area based Commodity based Issue based กลุ่มวิจัย (Unit หรือ Cluster) กลุ่มย่อยสหสาขาวิชา โดยการนำของ อ.พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ ประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2548

6 Area based Rain-fed Highland Rain-fed upland Rain-fed lowland
Irrigated lowland กลุ่มย่อยสหสาขาวิชา โดยการนำของ อ.พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ ประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2548

7 Commodity based ลำไย ชา กาแฟ กล้วยไม้ พริก แมลงอุตสาหกรรม
ระบบการผลิตสัตว์ กลุ่มย่อยสหสาขาวิชา โดยการนำของ อ.พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ ประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2548

8 Issue based เศรษฐกิจพอเพียง การลดปัญหาความยากจน
สิทธิชุมชนกับการจัดการทรัพยากร อาหารปลอดภัย เกษตรอินทรีย์ การอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ความหลากหลายชีวภาพพืช/สัตว์ในท้องถิ่น กลุ่มย่อยสหสาขาวิชา โดยการนำของ อ.พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ ประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2548

9 งานวิจัยสหสาขาวิชาการของคณะที่จะมีผลกระทบในวงกว้าง
เกษตรและการจัดการทรัพยากรที่สูง (ภาควิชาปฐพี และภาควิชาพืชสวน) Value chain ของสินค้าเกษตรหลักของภาคเหนือ: ข้าว ไม้ผล พืชผัก ไม้ดอก สมุนไพร สัตว์ (รศ.ดร.อรรถชัย) เศรษฐกิจพอเพียงกับการลดปัญหาความยากจน (ผศ.ดร.อาวรณ์) การจัดการทรัพยากรดิน น้ำ ป่า (ดร.ชาญชัย) เกษตรยั่งยืนและชุมชนเข้มแข็ง (อ.พฤกษ์, รศ.ดร.เบญจพรรณ) การแปรรูปวัสดุเศษเหลือทางเกษตร; ปุ๋ย อาหารสัตว์ (รศ.ดร.บุญล้อม, รศ.ดร.สมพร) มาตรฐานการผลิต (การลดการใช้สารเคมีในระบบการผลิตพืชและสัตว์) (รศ.ดร.จริยา, รศ.ดร.สุชน) ความอุดมสมบูรณ์ของดิน (ดร.รจเร) กระบวนการเรียนรู้ของชุมชน (รศ.ดร.รุจ) ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชและสัตว์ (รศ.ดร.ดำเนิน, ดร.ศุภมิตร) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อการวางแผนทางด้านการเกษตรและการจัดการทรัพยากร (ดร.เมธี) การจัดการระบบฟาร์มสัตว์ปีกเพื่อลดการระบาดไข้หวัดนก (รศ.ดร.สุชน) กลุ่มย่อยสหสาขาวิชา โดยการนำของ อ.พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ ประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2548

10 หน้าที่ของผู้ประสานงาน
สร้างทีมงานเพื่อวางกรอบวิจัย กำหนดยุทธศาสตร์การวิจัย ประสานงานและสร้างเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น กลุ่มย่อยสหสาขาวิชา โดยการนำของ อ.พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ ประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2548

11 ความเด่นเรื่องระบบบริหารจัดการงานวิจัย

12 ระบบบริหารโครงการวิจัยที่กำลังปรับปรุงให้เป็น
คณะเกษตรศาสตร์ สถาบันวิทย์เทคโนฯ โครงการหลวง สถานวิทยาการ หลังการเก็บเกี่ยว ศวพก. กลุ่มย่อยระบบบริหาร โดยการนำของ อ.ดร. เมธี เอกะสิงห์ ประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2548

13 ระบบบริหารโครงการวิจัยในปัจจุบัน
คณะเกษตรศาสตร์ สถาบันวิทย์เทคโนฯ โครงการหลวง สถานวิทยาการ หลังการเก็บเกี่ยว ศวพก. กลุ่มย่อยระบบบริหาร โดยการนำของ อ.ดร. เมธี เอกะสิงห์ ประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2548

14 การนำเสนอโครงการวิจัย
แหล่งทุน อธิการบดี/รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย ศูนย์บริหารงานวิจัย แผนฯ งบ คน สัญญา ภาระงาน ลงระบบ คณบดี/รองคณบดีฝ่ายวิจัย งานวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ หัวหน้าภาควิชา/ผอ.ศูนย์วิจัย เอกสารโครงการวิจัย ทีมวิจัย

15 การทำสัญญารับทุนโครงการวิจัย
แหล่งทุน อธิการบดี/รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย ศูนย์บริหารงานวิจัย แผนฯ งบ คน สัญญา ภาระงาน ลงระบบ คณบดี/รองคณบดีฝ่ายวิจัย งานวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ หัวหน้าภาควิชา/ผอ.ศูนย์วิจัย สัญญาโครงการวิจัย ทีมวิจัย

16 การคาดการณ์คำถามที่จะเกิดต่อ ม.ช.
คณาจารย์และบุคลากรมีผลงานวิจัยตามเกณฑ์ไหม? ม.ช. มีผลงานวิจัยอะไรเด่น เป็นประจำปี ตามความเห็นของสังคม? ผลงานวิจัยของคณาจารย์และบุคลากรเกี่ยวโยงกับ หลักสูตร การเรียนการสอนไหม? ระบบติดตามผลงานวิจัยของเรามีความน่าเชื่อถือไหม? ผู้ที่เกี่ยวข้องกับและสนับสนุนงานวิจัยมีความก้าวหน้าในสายวิจัยสร้างสรรผลงานเต็มตามประสิทธิภาพไหม?

17 การดำเนินการในระดับรัฐบาล

18 นโยบายของรัฐแถลงต่อรัฐสภา วันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๘
๘. การรักษาความมั่งคงของรัฐ สถาบันพระมหากัษตริย์ | ป้องกันประเทศ | ความมั่นคงของรัฐ ๖. การพัฒนากฏหมาย ปรับปรุงกฏหมาย ปปท. กระบวนการยุติธรรม ธรรมาภิบาลในเอกชน+สังคม ระบบราชการ ๗. ส่งเสริม ปชต. + กระบวนการประชาสังคม ปชต. แบบมีส่วนร่วมใหเข้มแข็ง สิทธิมนุษยชนในเป็นสากล กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ระดับประเทศ ที่ดิน น้ำ/สาธารณูปโภค ราคาผลผลิต บริหารจัดการตลาด แปรรูป ระดับชุมชน บริหารจัดการองค์ความรู้-ภูมิปัญญา การตัดสินใจโดยท้องถิ่น ระดับบุคคล เข้าถึงการเรียนรู้-ทุน เศรษฐกิจพอเพียง ความยากจน โดยการปรับโครงสร้าง ภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ท่องเที่ยว-บริการ-การค้า การเงิน/คลัง วิท-เทคโน-วิจัย-นวัตกรรม Logistics โครงสร้างพื้นฐาน รัฐวิสาหกิจ ความสามารถในการดำเนินยุทธศาสตร์ของชาติ โครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุล+แข่งขันได้ การต่างประเทศ นโยบายเชิงรุก ความสัมพันธ์นานาชาติ บทบาทไทยในเวทีโลก-พหุภาคี เศรษฐกิจระหว่างประเทศ ทูตเพื่อประชาขน สังคมการเรียนรู้ อนุรักษ์-พัฒนาภูมิปัญญา สุขภาวะ มั่งคงของชีวิต-สังคม ผู้สูงอายุ กทม. พัฒนาคน-สังคม การเตือนภัยด้านต่าง ๆ ธรรมชาติ เศรษฐกิจ การคลัง คน สัตว์ โรคแมลง ฯลฯ การรองรับการเปลี่ยนแปลงและพลวัตของโลก สร้างสมดุลของการใช้ประโยชน์ การฟื้นฟูดินและความเหมาะสมในการใช้สภาพพื้นที่ จัดการน้ำอย่างเป็นระบบ การจัดการร่วมกับเอกชนและชุมชน ความหลากหลายทางชีวภาพ การควบคุมมลพิษ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

19 โครงสร้างยุทธศาสตร์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด
กระทรวง ยุทธศาสตร์รัฐบาล (National Strategy) ก ร ม ยุทธศาสตร์กระทรวง (Ministry Strategy) เป้าหมาย เชิงยุทธศาสตร์ รัฐบาล (Strategic delivery target) การให้บริการ (Service delivery) เป้าหมาย เชิงยุทธศาสตร์ (Strategic delivery target) แผนการบริการ (Service Initiative) งาน/โครงการ เป้าหมาย การให้บริการ (Service delivery target) (Activity/Project) เป้าหมายแผนการบริการ ตัวชี้วัด (Service target) ตัวชี้วัด Option ตัวชี้วัด ขอบเขตเป้าหมายการให้บริการสาธารณะ (Public Service Agreement : PSA) ผลผลิต ดำเนินการ กพร, 2547 (

20 แผนการบริหารราชการแผ่นดิน (พ.ศ. 2548-2551) แผนปฏิบัติราชการประจำปี
ความเชื่อมโยงระหว่างแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี แผนการบริหารราชการแผ่นดิน (พ.ศ ) แผนปฏิบัติ ราชการ 4 ปี มิติภารกิจหน้าที่งาน มิติพื้นที่ มิติวาระ แผนปฏิบัติราชการประจำปี บูรณาการ ผลลัพธ์สุดท้าย ผลลัพธ์ ผลผลิต กิจกรรม ทรัพยากร กพร, 2547 (

21 ระบบการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงาน
การวางยุทธศาสตร์ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (มิติภารกิจงาน-มิติพื้นที่-มิติวาระ) การวางแผนปฏิบัติการ แผนปฏิบัติราชการประจำปี (ผลผลิต-กิจกรรม-ทรัพยากร) การวัดผลการดำเนินงานตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ เงินรางวัลตามผลงาน การติดตามประเมินผล และการทบทวน ยุทธศาสตร์ กพร, 2547 (

22 เครื่องมือในการปฏิรูประบบราชการมีอะไรบ้าง
วางเงื่อนไขบังคับให้ปฏิบัติตาม พระราชกฤษฏีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ สร้างแรงจูงใจ การให้เงินรางวัลตามผลงาน กระตุ้นจิตสำนึก ประกาศอุดมการณ์ I AM READY และการรณรงค์เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ “ทำงานเพื่อรอยยิ้มของประชาชน” กพร, 2547 (

23 I AM READY กพร, 2547 (

24 การปรับปรุงที่ วช.

25 คำจำกัดความ ดำเนินงาน สั้น กลาง ยาว เริ่มแรก ๓ ปี
ผลสัมฤทธิ์ และศักยภาพของไทย อุปสงค์ของสินค้า (Demand) รสนิยมผู้บริโภค ตราสัญลักษณ์ (Branding) ระบบขนส่ง (Logistic)

26 ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

27 ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านการสอน การวิจัย (Process) P1 : การจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ สนองยุทธศาสตร์ชาติ P2 : มีความเป็นผู้นำทางวิชาการ (ด้านการเรียนการสอน ด้านวิจัย ด้านบริการ วิชาการ และด้านศิลปวัฒนธรรม) ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการจัดการทางการเงินและงบประมาณ (Finance) F1 : เพิ่มรายได้และเพิ่มงบประมาณ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านผู้ใช้บริการ (Customer) C1 : เพิ่มความพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการบริหารจัดการ (Management) M1 : การบริหารจัดการแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2547

28 ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์
F1: เพิ่มรายได้ และเพิ่มงบประมาณ C1: เพิ่มความพอใจ ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย P1 : การจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ สนองยุทธศาสตร์ชาติ P2 : มีความเป็นผู้นำทางวิชาการ (ด้านการเรียนการสอน ด้านวิจัย ด้านบริการวิชาการ และด้านศิลปวัฒนธรรม) M1: การบริหารจัดการ (ส่วนกลาง) แบบมุ่งเน้นผลงานตาม ยุทธศาสตร์ กองแผนงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2547

29 โครงการวิจัยแบบบูรณาการใน มช.
ในปี ๒๕๔๗ ไม่มี ในปี ๒๕๔๘ เป็นโครงการในแผนงานบริการวิชาการ ในปี ๒๕๕๐-๕๒ กำลังขอ รศ. เพทายเป็นผู้ประสานงาน รายละเอียด ศูนย์บริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2548

30 สรุป งานวิจัยแบบบูรณการ = เรามีจุดเด่นหลายด้าน เรามีระบบวิจัยที่เด่น
เราไกลแหล่งทุนที่ กทม. ดังนั้น เราต้องร่วมมือกันเพื่อสร้างระบบสนับสนุนงานวิจัยด้วยกันในภาคเหนือ

31 สรุป หางานวิจัยที่ สกว. หรือ หน่วยอื่นเป็นเจ้าภาพหลักตามยุทธศาสตร์ของรัฐบาล ทุนต่างประเทศ หน. ภาค/ผอ.ศูนย์ ต้องให้การดูแล

32 จบแล้วครับ สนุก สุขดี ภูมิใจและยินดีที่ได้ร่วมงานกัน
ขอบคุณ Chicken Soup for the Teacher's Soul: Stories to Open the Hearts and Rekindle the Spirit of Educators by Jack Canfield


ดาวน์โหลด ppt งานวิจัยเชิงบูรณาการของคณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google