งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เอกสารเรียนวันที่ 23 สิงหาคม 2556 การบริหารวัสดุ คำนิยาม วัตถุประสงค์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เอกสารเรียนวันที่ 23 สิงหาคม 2556 การบริหารวัสดุ คำนิยาม วัตถุประสงค์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เอกสารเรียนวันที่ 23 สิงหาคม 2556 การบริหารวัสดุ คำนิยาม วัตถุประสงค์
เอกสารเรียนวันที่ 23 สิงหาคม 2556 การบริหารวัสดุ คำนิยาม วัตถุประสงค์ การจัดซื้อ อุปสงค์อิสระและไม่อิสระ การวางแผนความต้องการวัสดุ จุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ และปรัชญา ข้อดี ข้อเสีย โครงสร้าง

2 คำนิยาม การบริหารวัสดุ
กลุ่มหน้าที่ทางการบริหารที่สนับสนุนให้กระแสการไหลของวัสดุ เป็นไปโดยครบวงจร นับตั้งแต่การจัดซื้อ การควบคุมภายใน ของวัสดุไปสู่การวางแผนและควบคุมสินค้าคงคลังระหว่าง กระบวนการผลิต จนถึงการเก็บรักษา จัดส่ง จัดจำหน่าย สินค้าสำเร็จรูป วงจรการบริหารวัสดุ จัดหา จัดเก็บ แปรสภาพ จัดเก็บ จัดส่งจำหน่าย

3 Materials Management Cycle
Customer Supplier Supply Chain จัดหา Material เสมือนอาหาร จำหน่าย เก็บ (วัตถุดิบ) โรงงานคือ โรงครัว ต้นทุนสินค้าประมาณ 60 % เก็บ แปรสภาพ มาจากวัตถุดิบ (สำเร็จรูป) (ระหว่างผลิต) การบริหารวัตถุดิบจึงสำคัญ เพราะลดต้นทุนได้มาก วัตถุดิบ 60% ลด 10% ลดได้ 6 บาท แรงงาน 20% ลด 10% ลดได้ 2 บาท

4 วัตถุประสงค์การบริหารวัสดุ
บริการกระแสการไหลของวัสดุให้มีประสิทธิภาพ ได้รายการของถูกต้อง ตรงตามเวลาและตรงตามสถานที่ที่ต้องการ ซึ่งขึ้นอยู่กับการบริหารระบบ Logistic กิจกรรมด้านรับเข้า ได้แก่ การจัดซื้อ การส่งของ การรับของ กิจกรรมระหว่างกระบวนการผลิต ได้แก่ การควบคุมการผลิต การควบคุมสินค้าคงคลัง การจัดการดูแลวัสดุ กิจกรรมด้านผลที่ได้ ได้แก่ การบรรจุหีบห่อ การเก็บรักษาและ การจัดจำหน่าย

5 การจัดซื้อ กลยุทธ์การจัดซื้อ Strategic Partnership มีหลักเกณฑ์การเลือกหุ้นส่วนดังนี้ ข้อพิจารณาด้านการเงิน ข้อพิจารณาด้านกลยุทธ์และวัฒนธรรมองค์กร ข้อพิจารณาด้านเทคโนโลยี ข้อพิจารณาอื่นๆ เช่น คุณภาพ การส่งมอบ การลดต้นทุน

6 ความรับผิดชอบของฝ่ายจัดซื้อ
คุณภาพถูกต้อง จำนวนถูกต้อง ได้รับของตรงตามเวลา เสาะหาแหล่งผู้ขายได้ถูกต้อง ราคาที่ถูกต้องเหมาะสม ส่งไปยังสถานที่ถูกต้อง

7 ขั้นตอนการจัดซื้อ กำหนดรายละเอียดความต้องการสินค้าที่จัดซื้อ
กำหนดรายละเอียดคุณภาพสินค้าที่จัดซื้อ ขออนุมัติจัดซื้อ เจรจากับผู้จำหน่าย วิเคราะห์ เลือก ผู้จำหน่าย ออกใบสั่งซื้อ ติดตามเรื่องที่สั่งซื้อ ตรวจกำกับใบสินค้าที่ได้รับมาจากผู้จำหน่าย รับและตรวจสินค้าที่สั่งซื้อ รวบรวมและเก็บเอกสาร

8 อุปสงค์อิสระ คือความต้องการในวัสดุที่เป็นอิสระไม่ขึ้นกับ ความต้องการวัสดุอื่น เพราะ End Items ไม่ได้เป็นส่วนประกอบ ของ Parent Items อุปสงค์นี้จึงเป็นอุปสงค์ที่ไม่ถูกกำหนดโดยลูกค้า อุปสงค์ไม่อิสระ คือความต้องการวัตถุดิบ ชื้นส่วน หรือส่วนประกอบ ในระดับชั้นที่ต่ำลงมาที่ขึ้นอยู่กับอุปสงค์ของรายการสุดท้าย ที่ต้องการส่วนประกอบนี้ไปใช้ประกอบ

9 Two Forms Of Demand affect System Choice
Independent demand items demanded by external customers (Kitchen Table) Dependent demand items used to produce final products (table top, legs, hardware, paint, etc.)

10 Inventory Management Systems
Demand Type Dependent Independent

11 Dependent and independent demand
e.g. input tyre store in car plant Demand for tyres is governed by the number of cars planned to be made Demand for tyres is largely governed by random factors ACE TYRES Inependent demand e.g. tyre fitting service

12 Inventory Management Systems
Demand Type Independent Medium to long Lead Times and Moderate to high ordering costs Short Lead Time, Low Ordering Costs, & High Quality Continuous Review (EOQ, ROP) Periodic Review (P, T) Just In Time (JIT)

13 Inventory Management Systems
Demand Type Dependent Medium to long Lead Times and Moderate to high ordering costs Short Lead Time, Low Ordering Costs, & High Quality Material Requirements Planning (MRP) Just In Time (JIT)

14 การบริหารวัสดุ ( Material Management )
Transformation Supplier Purchase Production Distribution Customer Raw Mat Work in process Finished Goods Demand Supply Chains (Logistic Management) JIT Special Parts MRP Dependent Common Parts EOQ EPQ Independent

15 JUST IN TIME ลดการสูญเสีย 7 ประการ
Transportation Movement Defect WIP Inventory Waiting Time Rework นิยมใช้กับ Product Focus การผลิตแบบไหลต่อเนื่อง(melody) Supply การปฎิบัติงานมาตรฐาน (Harmony) Demand Pull การปรับปรุงการปฎิบัติงาน (Rhythm) คุณภาพสูง Small lot Standardization Automation Preventive Maintenance Flexible Workforce Set up time

16 Russell/Taylor Oper Mgt 3/e
MRP Computerized inventory control & production planning system Schedules component items when they are needed - no earlier and no later. ใช้กับ Dependent Demand Complex Product Discrete items เหมาะกับระบบการผลิตแบบ Assembly to Stock / to Order © 2000 by Prentice-Hall Inc Russell/Taylor Oper Mgt 3/e Ch

17 MRP Inputs & Outputs Master Production Schedule Material Requirements
Planning Product Structure File Inventory Master Planned Order Releases Work Orders Purchase Orders Rescheduling Notices © 2000 by Prentice-Hall Inc Russell/Taylor Oper Mgt 3/e Ch

18 Russell/Taylor Oper Mgt 3/e
MRP Inputs Master production schedule Product structure file Inventory master file © 2000 by Prentice-Hall Inc Russell/Taylor Oper Mgt 3/e Ch

19 Master Production Schedule
Drives MRP process with a schedule of finished products Quantities represent production not demand Quantities may consist of a combination of customer orders & demand forecasts Quantities represent what needs to be produced, not what can be produced © 2000 by Prentice-Hall Inc Russell/Taylor Oper Mgt 3/e Ch

20 Master Production Schedule
© 2000 by Prentice-Hall Inc Russell/Taylor Oper Mgt 3/e Ch

21 Product Structure Tree
Clipboard Level 0 Clip Assembly (10) Rivet (2) Board (1) Pressboard (1) Finish (2oz.) Level 1 Top Clip (1) Bottom Clip (1) Pivot (1) Spring (1) Level 2 Sheet Metal (8 in2) Sheet Metal (8 in2) Spring Steel (10 in.) Iron Rod (3 in.) Level 3 © 2000 by Prentice-Hall Inc Russell/Taylor Oper Mgt 3/e Ch

22 Indented Bill of Material
LEVEL ITEM Unit of Measure Quantity Clipboard Ea 1 Clip Assembly Ea 1 Top Clip Ea 1 Sheet Metal In2 8 Bottom Clip Ea 1 Pivot Ea 1 Iron Rod In 3 Spring Ea 1 Spring Steel In 10 Rivet Ea 2 Board Ea 1 Press Board Ea 1 Finish Oz 2 © 2000 by Prentice-Hall Inc Russell/Taylor Oper Mgt 3/e Ch

23 Russell/Taylor Oper Mgt 3/e
Inventory Accuracy 1. Maintain orderly stockrooms 2. Control access to stockrooms 3. Establish & enforce procedures for inventory withdrawal 4. Ensure prompt and accurate entry of inventory transactions 5. Take physical inventory count on a regular basis 6. Reconcile inventory discrepancies in a timely manner (use cycle counting) © 2000 by Prentice-Hall Inc Russell/Taylor Oper Mgt 3/e Ch

24 T V 3 U 2 Y 2 W 1 X 2 W 2

25 สัปดาห์ที่ Tวันที่ต้องการ LT1 วันออกคำสั่งผลิต U วันที่ต้องการ LT2 วันออกคำสั่งผลิต 200 V วันที่ต้องการ LT2 วันออกคำสั่งผลิต 300 W วันที่ต้องการ LT3 วันออกคำสั่งผลิต 800 Xวันที่ต้องการ LT1 วันออกคำสั่งผลิต 400 Y วันที่ต้องการ LT1 วันออกคำสั่งผลิต 600

26 Russell/Taylor Oper Mgt 3/e
The MRP Matrix Item name or number identifying scheduled item LLC low-level-code; lowest level at which item appears in a product structure © 2000 by Prentice-Hall Inc Russell/Taylor Oper Mgt 3/e Ch

27 Russell/Taylor Oper Mgt 3/e
The Alpha Beta Company A LT=3 B LT=2 C(3) LT=4 D(2) LT=2 D(3) LT=2 Item On Hand Scheduled Receipts Lot Size MPS A , period 8 B , period 6 C D , period © 2000 by Prentice-Hall Inc Russell/Taylor Oper Mgt 3/e Ch

28 Russell/Taylor Oper Mgt 3/e
MRP Matrices For A & B © 2000 by Prentice-Hall Inc Russell/Taylor Oper Mgt 3/e Ch

29 Russell/Taylor Oper Mgt 3/e
MRP Matrices For C & D © 2000 by Prentice-Hall Inc Russell/Taylor Oper Mgt 3/e Ch


ดาวน์โหลด ppt เอกสารเรียนวันที่ 23 สิงหาคม 2556 การบริหารวัสดุ คำนิยาม วัตถุประสงค์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google