งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ออปแอมป์ Op-Amp (Operational Amplifiers)
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE) ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2 วัตถุประสงค์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวงจรรวม
เพื่อศึกษา โครงสร้าง และ การทำงานของ ออปแอมป์ใน อุดมคติ มีความเข้าใจในการวิเคราะห์วงจรขยายแบบต่างๆที่ใช้ ออปแอมป์ มีความเข้าใจในการต่อวงจรออปแอมป์แบบคาสเคด

3 ออปแอมป์ (Op-Amp, Operational Amplifier)
เป็นอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ 3 ขา ที่มีการทำงานคล้ายกับแหล่งจ่ายแรงดันที่ถูกควบคุมด้วยแรงดัน (Voltage-Controlled Voltage Source, VCVS) เพื่อศึกษา โครงสร้าง และ การทำงานของ ออปแอมป์ในอุดมคติ ออปแอมป์สามารถนำมาใช้ในการขยายสัญญาณ , รวม สัญญาณหรือนำมาทำเป็นตัวกระทำทางคณิตศาสตร์

4 ออปแอมป์ (Op-Amp, Operational Amplifier)
โวลเตจแอมปลิไฟเออร์ ซัมมิ่งแอมปลิไฟเออร์ อินทิเกรเตอร์ (Integrator) ดิฟเฟอร์เรนทิเอเตอร์ (Differentiator)

5 ออปแอมป์ (Op-Amp, Operational Amplifier)
สัญลักษณ์ของออปแอมป์ แสดงดังรูป มีขั้วที่ต่อใช้งานคือ ขั้วอินพุตบวก (Non-inverting Terminal) ขั้วอินพุตลบ (Inverting Terminal) ขั้วเอาต์พุต (Output Terminal) ขั้วแรงดันไฟเลี้ยง บวก และลบ ปกติไม่ได้แสดงไว้ในสัญลักษณ์

6 ออปแอมป์ (Op-Amp, Operational Amplifier)
วงจรสมมูลของออปแอมป์ ความต้านทานด้านอินพุต : Ri ความต้านทานด้านเอาต์พุต : Ro แรงดันระหว่างขาอินพุต :

7 ออปแอมป์ (Op-Amp, Operational Amplifier)
วงจรสมมูลของออปแอมป์ แรงดันเอาต์พุต โดย A คืออัตราขยายแรงดันวงเปิด Parameter Typical range Ideal values A 105 to 108 Ri 105 to  Ro 10 to  VCC 5 to 24 V

8 ออปแอมป์ (Op-Amp, Operational Amplifier)
ช่วงการทำงานของออปแอมป์ สามารถแบ่งออกเป็น 3 ช่วง - ช่วงอิ่มตัวด้านบวก (Positive saturation) - ช่วงการทำงานแบบเชิง เส้น (Linear region) - ช่วงอิ่มตัวด้านลบ (Negative saturation)

9 ออปแอมป์ในอุดมคติ คุณสมบัติของออปแอมป์ในอุดมคติ
อัตราขยายวงเปิดมีค่าเป็นอนันต์ ความต้านทานอินพุตมีค่าเป็นอนันต์ ความต้านทานเอาท์พุตมีค่าเป็นศูนย์ ผลตอบสนองความถี่ได้ตั้งแต่

10 ออปแอมป์ในอุดมคติ ข้อกำหนดการวิเคราะห์วงจรขยายที่ใช้ออปแอมป์อุดมคติ
กระแสที่ไหลเข้าขั้วอินพุตทั้งสองเป็นศูนย์ นั่นคือ เนื่องจากความต้านทานด้านอินพุตมีค่าเป็นอนันต์ กระแสที่ไหลที่ขั้วเอาต์พุตไม่จำเป็นต้องเท่ากับ 0

11 การใช้งานออปแอมป์ การป้อนกลับแบบลบของออปแอมป์
จะมีการเชื่อมต่อวงจรโดยนำสัญญาณจากขาเอาท์พุตต่อกลับไปยังขาอินพุตที่เป็นแบบ inverting ของออปแอมป์ อัตราขยายที่เกิดจากการป้อนกลับแบบลบเรียกว่า อัตราขยายลูปปิด (Closed-loop gain)

12 การใช้งานออปแอมป์ ทำไมต้องป้อนกลับแบบลบ
เสถียรภาพ (Stability) ของวงจร: ออปแอมป์ไม่ทำงานในช่วงอิ่มตัว (Positive /Negative Saturation) สามารถรับช่วงของสัญญาณอินพุตได้กว้างขึ้น อัตราขยายของวงจรสามารถกำหนดได้ (จากอุปกรณ์ภายนอก)

13 การใช้งานออปแอมป์ ____ (1) ____ (2) แทน (2) ใน (1)

14 การใช้งานออปแอมป์ เอาสมการ 3 หารด้วย A และใช้คุณสมบัติที่ A = 
____ (3) เอาสมการ 3 หารด้วย A และใช้คุณสมบัติที่ A = 

15 การใช้งานออปแอมป์ ดังนั้นออปแอมป์ที่มีอัตราขยายลูปเปิดที่ใกล้อนันต์ เมื่อมีการ ป้อนกลับแบบลบ จะได้แรงดันที่ตกคร่อมขั้วอินพุตทั้งสองมีค่า เข้าใกล้ 0

16 การต่อวงจรออปแอมป์แบบคาสเคด(Cascade)
วงจรขยายออปแอมป์จะถูกพิจารณาในลักษณะที่เป็นบล็อกไดอะแกรม การใช้งานวงจรขยายโดยส่วนใหญ่ ต่อร่วมกัน Cascade โดยจะเรียกแต่ละวงจรนี้ว่า สเตจ (Stage) ที 1, สเตจที่ 2, …, สเตจที่ n

17 การต่อวงจรออปแอมป์แบบคาสเคด(Cascade)
อัตราขยายรวมของการต่อแบบคาสเคด จะเป็นผลคูณของอัตราขยายแต่ละสเตจ ในการออกแบบใช้งานจริงนั้นควรต้องระวังไม่ให้อัตราขยายรวมของวงจรที่คาสเคดกันทั้งหมดทำให้ออปแอมป์อยู่ในช่วงอิ่มตัว

18 การต่อวงจรออปแอมป์แบบคาสเคด(Cascade)
อัตราขยายรวม ดังนั้น

19 วงจรขยายแบบกลับขั้ว (Inverting Amplifier)
KCL ที่โนด v1 : เมื่อมีการป้อนกลับแบบลบ และ

20 วงจรขยายแบบกลับขั้ว (Inverting Amplifier)
จะได้ อัตราขยายของวงจรขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ต่อภายนอก สัญญาณเอาต์พุตที่ได้กลับเฟสกับสัญญาณอินพุต

21 วงจรขยายแบบไม่กลับขั้ว (Non-Inverting Amplifier)
KCL ที่โนด v1 : เมื่อมีการป้อนกลับแบบลบ และ

22 วงจรขยายแบบไม่กลับขั้ว (Non-Inverting Amplifier)
จะได้ อัตราขยายของวงจรขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ต่อภายนอก สัญญาณเอาต์พุตที่ได้จะมีเฟสตรงกับสัญญาณอินพุต

23 วงจรขยายแบบรวมสัญญาณ (Summing Amplifier)
KCL ที่โนด va : เมื่อมีการป้อนกลับแบบลบ

24 วงจรขยายแบบรวมสัญญาณ (Summing Amplifier)
ถ้า จะได้

25 วงจรขยายผลต่าง (Difference Amplifier)
KCL ที่โนด va : KCL ที่โนด vb : ____ (1) ____ (2)

26 วงจรขยายผลต่าง (Difference Amplifier)
วงจรมีการป้อนกลับแบบลบ แทนค่า vb จาก (2) ใน va ของ(1) จัดรูปใหม่ได้

27 วงจรขยายผลต่าง (Difference Amplifier)
ถ้า จะได้ ถ้า และ จะได้


ดาวน์โหลด ppt กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google