งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การใช้ระบาดวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ (กรณีการสอบสวนอหิวาตกโรค)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การใช้ระบาดวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ (กรณีการสอบสวนอหิวาตกโรค)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การใช้ระบาดวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ (กรณีการสอบสวนอหิวาตกโรค)
วงษ์กลาง กุดวงษา และคณะ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเชียงยืน

2 ความเป็นมา 8 มิถุนายน ศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอเชียงยืน ได้รับแจ้งจากงานระบาดวิทยา สสจ.มหาสารคาม พบผู้ป่วยยืนยันอหิวาตกโรค (Vibrio Cholerae El Tor Ogawa) ตำบลเสือเฒ่า 2 ราย เริ่มป่วย 6 มิถุนายน 2553 รักษาที่โรงพยาบาลเชียงยืน 7 มิถุนายน 2553 10 มิถุนายน 2553 โรคได้กระจายไปทุกตำบลของอำเภอ 1 กรกฎาคม พบผู้ป่วย 2 รายสุดท้าย

3 ลักษณะการกระจายของโรค
ลักษณะการกระจายของโรค ผู้ป่วยทั้งสิ้น 95 ราย (active cases 15 , carrier 45) อัตราป่วย ต่อประชากรแสนคน เป็นเพศหญิง ราย (ร้อยละ 57.9 ) อายุระหว่าง 2 – 82 ปี มัธยฐานอายุ 46 ปี

4 27 วัน โรคสงบ จำนวน(ราย) ออกสอบสวนโรค ผู้ป่วยรายแรก ปิดและปรับปรุงห้องสุขา ระยะเฝ้าระวังโรค เดือน รูปที่ 1 จำนวนผู้ป่วยโรคอหิวาตกโรค ตามวันเริ่มป่วย อำเภอเชียงยืน วันที่ 4 มิถุนายน – 1 กรกฎาคม 2553

5 เกิดโรคทั้งสิ้น 38 หมู่บ้านใน116 หมู่บ้านครอบคลุมทั้ง 8 ตำบล

6 การศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ (Case-Case comparison) เมื่อหาความสัมพันธ์ของการรับประทานอาหารจากตลาดเช้ากับการเกิดโรค แบบแหล่งโรคร่วมในระยะแรกของการระบาดพบว่า มีค่า Odds ratio (95 % CI ) แสดงให้เห็นว่า การรับประทานอาหารที่ซื้อมาจากตลาดเช้า น่าจะเป็นสาเหตุของการระบาด ในครั้งนี้ ตารางที่ 1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเสี่ยงกับช่วงเวลาของการระบาด ปัจจัยเสี่ยง ผู้ที่ป่วย 4-13 มิ.ย.53 ผู้ที่ป่วย 14 มิ.ย-1 ก.ค.2553 OR 95 % CI รับประทาน ไม่รับประทาน ไม่ อาหารจากตลาดเช้า 53 14 16 12 2.84

7 การสำรวจสุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อม
สุ่มเก็บอาหารจากตลาดส่งตรวจ 17 รายการไม่พบเชื้อ ประปาผิวดินเทศบาลเชียงยืน คลอรีนตกค้าง มีค่า 0.1 ppm เก็บน้ำตรวจไม่พบเชื้อ ขาดการล้างตลาดสดมาประมาณ 1 เดือน ห้องสุขาตลาดสดเช้ามีบ่อเกรอะแตก

8

9 มาตรการควบคุมและป้องกันโรค

10 ด้านการบริหารจัดการทีม
ประชุม War Room ระดับอำเภอในช่วงบ่ายของทุกวัน จัดประชุมหัวหน้าส่วนราชการ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม สำนักงานควบคุมป้องกัน โรคที่ 6 ขอแก่น จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการสอบสวน แนวทางเฝ้า ระวังควบคุมโรค แนวทางการรักษา และแนวทางติดตามผู้ป่วยและพาหะ

11 ด้านการควบคุมป้องกันโรค
ประสานปศุสัตว์อำเภอเพื่อตรวจสุขภาพคนงานในโรงงานฆ่าสัตว์และการเก็บ RSC พาหะนักเรียนแนะนำให้หยุดเรียนและผู้ขายอาหารทุกรายให้หยุดขายอาหารจนกว่าผลตรวจจะไม่พบเชื้อติดต่อกัน 3 วัน ติดตามการกินยาผู้ป่วยและพาหะทุกรายจนผลการตรวจไม่พบเชื้อ Vibrio cholerae ล้างห้องน้ำโดยคลอรีน100 ppm ที่บ้านผู้ป่วย พาหะ และหมู่บ้านเกิดโรค โดยให้ อสม.ดำเนินการล้างทุกหลังคาเรือน แยกหอผู้ป่วยอหิวาตกโรคกับผู้ป่วยทั่วไปและมีเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ

12

13 การให้สุขศึกษาเชิงรุกหลากหลายรูปแบบ
แจ้งสถานการณ์การระบาดผ่านทางคลื่นวิทยุในท้องถิ่น รถประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ วิ่งและจอดในแหล่งชุมชน ตลาดเช้า,เย็น ผลิตแผ่นพับเกี่ยวกับการป้องกันโรคอหิวาตกโรคและป้ายไวนิลขนาดใหญ่ อสม. แจ้งข่าว ให้คำแนะนำการป้องกันโรคในพื้นที่ เคาะประตูบ้าน หน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้สุขศึกษาแก่ผู้ เข้ารับบริการในสถานพยาบาล

14

15 การดำเนินงานด้านสุขาภิบาล
ประสานงานประปาอำเภอในการเติมคลอรีนน้ำประปาให้มีปริมาณ คลอรีนตกค้าง1 ppm ตรวจเช็คระดับคลอรีนตกค้างสม่ำเสมอ มีมาตรการเติมคลอรีนในบ่อน้ำหรือภาชนะบรรจุน้ำในชุมชนที่มีผู้ป่วยและ พื้นที่ที่เสี่ยง ประสานเทศบาลในการล้างตลาดสด 2 แห่งทุกวันช่วงที่มีการระบาดและ สัปดาห์ละ 2 วันในช่วงเฝ้าระวัง ปิดห้องสุขาและมีการปรับปรุงห้องสุขาของตลาดสดใหม่ ประสานเทศบาลและอบต. ให้มีการจัดเก็บขยะในตลาดเพิ่มขึ้นทั้ง เช้าและเย็น

16

17 ความร่วมมือกับหน่วยงานนอกกระทรวงสาธารณสุข (การสร้างเครือข่าย)
อบต เทศบาล ตลาด สถานศึกษา ผู้นำชุมชน อสม ร้านค้า ประปาอำเภอ ปศุสัตว์อำเภอ วิทยุชุมชน ประสานความร่วมมือด้วยวาจาและตามด้วยหนังสือราชการอย่าง เป็นทางการ โดยลงนามจากนายอำเภอเชียงยืน เชิญผู้บริหารเข้ารับฟังการประชุม War Room ในระดับอำเภอเพื่อ ติดตามการดำเนินงาน

18 การพัฒนาระบบเพิ่มเติม

19 การลงนาม MOU

20 ปีงบฯ 2555 โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังและการจัดการโรคระดับหมู่บ้านให้เกิดการพัฒนาทีม SRRT ระดับตำบล

21 การแบ่งบทบาทหน้าที่ที่ชัดเจนเป็นรูปธรรมให้เจ้าหน้าที่
การให้ความสำคัญของผู้บริหารทุกระดับมีผลต่อการควบคุมป้องกันโรคที่ต้นเหตุได้เป็นอย่างดี

22 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt การใช้ระบาดวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ (กรณีการสอบสวนอหิวาตกโรค)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google