งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค การประชุมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายทอดเป้าหมายการลดโรค สู่ การปฏิบัติด้วยยุทธศาสตร์กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ณ โรงแรมปริ๊นซ์พาเลซ มหานาค กรุงเทพฯ วันที่ กรกฎาคม 2555

2 พื้นที่ควบคุมโรคเข้มแข็งและยั่งยืน
หลักการและแนวคิด พื้นที่ควบคุมโรคเข้มแข็งและยั่งยืน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ตำบลควบคุมโรคเข้มแข็ง ประเทศควบคุมโรค เข้มแข็ง คุณลักษณะที่สะท้อนความเข้มแข็งและยั่งยืน ความร่วมมือจากภาคี ระบบงานระบาดวิทยา มีแผน&ผลงานควบคุมโรคที่เป็นปัญหา การระดมทรัพยากรมาดำเนินการ จังหวัดควบคุมโรคเข้มแข็ง ลดโรคและภัยสุขภาพ บทบาทกรมควบคุมโรค ประสาน สนับสนุน กระตุ้น ชี้ปัญหา สร้างแรงจูงใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประชาชนได้รับการปกป้องจาก โรคและภัยสุขภาพ

3 ปัจจุบัน อนาคต ไม่เป็นระบบ??
กรม คร. มุ่งเน้น “อำเภอ” เป็นพื้นที่เป้าหมายเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ รวมถึงการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ แบบมีส่วนร่วม ให้เกิดประสิทธิผลต่อสุขภาพของ ประชาชนในพื้นที่ ทันสถานการณ์ ปัจจุบัน อนาคต 1. มีคณะกรรมการ 1. มีคณะกรรมการ 2.มีระบบระบาดฯ 3.มีการวางแผน 2.มีระบบระบาดฯ 5.มีผลงาน 4.มีการระดมทุนฯ 3.มีการวางแผน 4.มีการระดมทุนฯ 5.มีผลงาน ไม่เป็นระบบ??

4 นิยาม “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” หมายถึง
อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทันสถานการณ์ วัดจากคุณลักษณะ 5 ด้าน ในปี 2555 ได้ผลักดันให้จังหวัดเลือกเป็นตัวชี้วัดคำรับรองปฏิบัติราชการของจังหวัด พร้อมทั้งได้สร้างกลไก และตัวชี้วัด เพื่อขับเคลื่อนจังหวัดให้มีการบริหารจัดการที่เอื้อให้เกิดอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน 4

5 องค์ประกอบสำคัญ บ่งชี้ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
1. มีคณะกรรมการฯ : ภาคส่วนที่สำคัญมีส่วนร่วม เช่น อปท. สาธารณสุข อสม. 2. มีระบบระบาดวิทยาที่ดี : ข้อมูล ทันสถานการณ์ 3. มีการวางแผนฯ : แนวทางแก้ไข ตามปัญหาพื้นที่ 4. มีการระดมทุน 5. มีผลสำเร็จของการควบคุม ป้องกันโรคและภัยสุขภาพ : แก้ไขปัญหาพื้นที่ทันการณ์ SRRT ตำบล ที่มา: คู่มือประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2555 (ดาวน์โหลดจาก

6 ภาคีเครือข่ายสำคัญ ที่ทำให้เกิด “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ภาคีเครือข่ายสำคัญ ที่ทำให้เกิด “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” มท. จังหวัด สธ. ประชาชนในอำเภอ ได้รับการปกป้อง จากโรค และภัยสุขภาพ อำเภอ กรมควบคุมโรค

7 ด้าน สื่อสาร ประชา สัมพันธ์
กลไก ความก้าวหน้า และแนวทางการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปรับปรุงจากจุดเน้นกรมฯ 5 ส.ค.2555 ปี 57-60 ปี 2556 ปี 55 ปี 54 ปี 53 ปี 55 1. กระทรวงฯ ประกาศเป็นนนโยบาย 16 กย อิมแพ็ค เมืองทองฯ 2. MOU : ปลัดกระทรวง ฯอธิบดีกรม คร. นายก อบต.แห่งประเทศไทย สนับสนุนงบประมาณ SRRT ทุกตำบล (6.9 ลบ.) ตัวชี้วัด“ผู้ว่าฯ” “ผู้ตรวจ คณะที่ 3” “คำรับรองกรม/หน่วยงาน” เชิดชู ให้รางวัล ศึกษาดูงานภายใน/ต่างประเทศ (ส.ค.-กย. 54) ตัวชี้วัดคำรับรองฯ”จังหวัด”และ “กสธ.” “กรม/หน่วยงาน” 2. MOU: มท.กับ สธ. (กรมการปกครอง/กรมส่งเสริมส่วนท้องถิ่น) ชมรม อสม. สื่อมวลชน 3. สนับสนุนงบประมาณเพื่ออบรมทีม SRRT ครอบคลุมทุกคน (7.15 ลบ.) 4. เชิดชู ให้รางวัล :ศึกษาดูงานภายใน/ต่างประเทศ (ก.ย.-พ.ย.55) ตัวชี้วัดคำรับรองฯ”จังหวัด”และ “กสธ.” “กรม/หน่วยงาน” และ “อปท.” 2. ขับเคลื่อนการดำเนินงานร่วมกับเครือข่าย: แผนแม่บทสนับสนุนการพัฒนาอำเภอฯ (ปี 56-60) 3. เชิดชู ให้รางวัล :ศึกษาดูงานภายใน/ต่างประเทศ 4. *ขยายความร่วมมือเครือข่ายเพื่อสร้างระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค ครบวงจร ด้านนโยบาย ปรับจากมติที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ครั้งที่ 1/2555 วันที่ 23 มค กรมควบคุมโรค 1. ระดมความคิดเครือข่ายหลัก : สสจ. (ผชชว./กลุ่ม คร./ระบาด) อำเภอ (รพช./สสอ.) ตำบล (รพสต./สอ.) สื่อมวลชน 2. พัฒนาเกณฑ์คุณลักษณะ แนวทางการประเมินฯ/ คู่มือ หลักสูตร SRRT ตำบล (ครู ก) ให้ สคร/สสจ/ สสอ. สสจ./สคร. อบรม SRRT ตำบล 4,666 แห่ง (ม.ค. – ก.พ.54) จาก 9,751 แห่ง 3. สนับสนุน ชุดความรู้ คู่มือเกณฑ์คุณลักษณะฯปี 54 และระบบการประเมินตนเองอิเลคทรอนิคส์ พัฒนาศักยภาพเครือข่าย SRRT ตำบลทุกคนครอบคลุมทั้งประเทศ หลักสูตรระบาดวิทยาและการบริหารจัดการให้แพทย์หัวหน้าทีมและผู้สอบสวนหลัก ปรับปรุงเกณฑ์/วิธีประเมินคุณลักษณะฯ ปี55 (เชิงคุณภาพ)/ระบบการประเมินตนเองอิเลคทรอนิคส์ พัฒนาหลักสูตรระบาดวิทยาภาคสนาม เครือข่าย SRRT ตำบล/ e-learning ปรับปรุงเกณฑ์และวิธีประเมินคุณลักษณะฯ ปี 56/ ระบบประเมินตนเองอิเลคทรอนิคส์ พัฒนาชุดวิชาป้องกันควบคุมโรคระดับพื้นที่ ประกอบหลักสูตรการอบรมของเครือข่าย เช่น นักปกครอง อปท. ฯลฯ 4. *พัฒนารูปแบบระบบการประเมินรับรอง (PH accreditation) ด้าน วิชาการ 1. สัมมนา 4 ภาค เครือข่ายสธ. (สสจ./สสอ./รพช.) (กพ.- มีค.) 2. ประชุมจังหวัด/ ผู้ตรวจเขตฯ/ เอกสารเผยแพร่ 3. สนับสนุน ติดตาม นิเทศ สะท้อนผลงาน สัมมนา 4 ภาค เครือข่ายมหาดไทย (มี.ค.-เม.ย.55) สัมมนาเครือข่าย สธ.เพื่อขับเคลื่อนงาน (ผชชว./สสจ/กลุ่ม คร./กลุ่ม พนย.) จัดทำสื่อต้นแบบ/บูธประชาสัมพันธ์/สื่ออิเลคทรอนิคส์ สัมมนา 4 ภาค เครือข่ายมหาดไทย/ อปท. สัมมนาเครือข่ายเพื่อขับเคลื่อน/ปรับปรุงงาน สธ. (ผชชว./สสจ/กลุ่ม คร./กลุ่ม พนย.) /สื่อมวลชน จัดทำสื่อต้นแบบ/สร้างภาพลักษณ์/พัฒนาช่องทางสื่อสาร เช่นสื่อพื้นบ้าน สื่ออิเลคทรอนิคส์ สื่อสาร ประชุมชี้แจงแนวทางการประเมินผลฯ ติดตาม สะท้อนผลงาน ด้าน สื่อสาร ประชา สัมพันธ์

8 ได้รับการปกป้องจากโรค
ขอบคุณทุกท่าน ที่ร่วมเสริมสร้างให้เกิด “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” สู่เป้าหมาย ประชาชนในอำเภอ ได้รับการปกป้องจากโรค และภัยสุขภาพ


ดาวน์โหลด ppt นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google