งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน

2 ไอโอดีนสำคัญอย่างไร ? ช่วยในการพัฒนาระบบประสาทและเซลล์ประสาท โดยเฉพาะ
สมองที่ได้รับไอโอดีนอย่างเพียงพอ สมองที่ขาดไอโอดีน ช่วยในการพัฒนาระบบประสาทและเซลล์ประสาท โดยเฉพาะ 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ ภาวะขาดสารไอโอดีนเพียงเล็กน้อยก็ส่งผลกระทบต่อระดับไอคิว (ทำให้ระดับไอคิวต่ำลง10-15 จุด) ที่มา: ข้อมูลจาก UNICEF

3 สติปัญญาและพัฒนาการของเด็กไทย
จากการสำรวจไอคิวของคนไทย โดย สวรส พบไอคิวเฉลี่ย 91 จุด (ปกติ จุด) การสำรวจพัฒนาการในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี โดย สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย พบพัฒนาการสมวัยลดลง

4 กลไกการขับเคลื่อน ระดับชาติ
คณะกรรมการควบคุมป้องกัน โรคขาดสารไอโอดีนแห่งชาติ คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนควบคุมป้องกัน โรคขาดสารไอโอดีน 4 ชุด

5 คณะอนุกรรมการขับเคลื่อน การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
1. คณะอนุกรรมการผลักดันนโยบายสู่การปฏิบัติ 2. คณะอนุกรรมการทบทวนการเสริมไอโอดีนในเกลือ และผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ 3. คณะอนุกรรมการจัดตั้งระบบเฝ้าระวัง และติดตามการขาดสารไอโอดีนในกลุ่มเสี่ยง 4. คณะอนุกรรมการสื่อสารสู่สาธารณะ และผลักดันนโยบายสาธารณะ

6 สถานการณ์ โรคขาดสารไอโอดีน
สถานการณ์ โรคขาดสารไอโอดีน

7 สถานการณ์ โรคขาดสารไอโอดีน
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ค่ามัธยฐานไอโอดีนในปัสสาวะ หญิงตั้งครรภ์ 150 ไมโครกรัมต่อลิตร 142.4 (ปี 2553 ) ปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะ หญิงตั้งครรภ์น้อยกว่า 150 ไมโครกรัมต่อลิตร ไม่เกินร้อยละ 50 52. 4 ( ปี 2553) ระดับ TSH ในทารกแรกเกิด มากกว่า มิลลิยูนิตต่อลิตร ไม่เกินร้อยละ 3 13.3 ( ปี 2552) คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน ในครัวเรือน มากกว่าร้อยละ 90 77.4 ( ปี 2552) จำนวนชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน ทุกชุมชน / หมู่บ้าน (ประมาณ 76,000 แห่ง) 34 แห่ง (11 จังหวัด)

8 สถานการณ์โรคขาดไอโอดีนในประเทศไทย ค่ามัธยฐานระดับไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ. 2553
ไมโครกรัม / ลิตร พ.ศ. ค่าปกติ = 100 ไมโครกรัม/ลิตร 2550 – = 150 ไมโครกรัม/ลิตร ข้อมูลจากสำนักโภชนาการ กรมอนามัย

9 ร้อยละไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ <100 ไมโครกรัม/ลิตร (ก่อนพ. ศ
ร้อยละไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ <100 ไมโครกรัม/ลิตร (ก่อนพ.ศ.2550) และ <150 ไมโครกรัม/ลิตร (ตั้งแต่ปีพ.ศ ) เกินกว่าร้อยละ 50 เป็นพื้นที่ขาดไอโอดีน

10 ปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ 2553
ปริมาณไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ น้อยกว่า150 ไมโครกรัมต่อลิตร มากกว่าร้อยละ 75 มี 7 จังหวัด ได้แก่ สระแก้ว (85.7) อำนาจเจริญ(82.4) สระบุรี(79.3) ระยอง(79.0) หนองคาย(78.2) ชัยนาท(77.4) จันทบุรี(76.4) ปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ 2553 มีค่ามัธยฐาน(median)= g/L ปริมาณไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์น้อยกว่า 150 g/L ร้อยละ g/L องค์การอนามัยโลก กำหนดตัวชี้วัดภาวการณ์ขาดสารไอโอดีนระดับพื้นที่ พ.ศ (2007) พื้นที่ที่มีสัดส่วนของหญิงตั้งครรภ์ ที่มีค่าไอโอดีนในปัสสาวะน้อยกว่า 150 g/L เกินกว่าร้อยละ 50 เป็นพื้นที่ขาดสารไอโอดีน

11 มาตรการดำเนินการแก้ไขปัญหา พื้นที่ขาดสารไอโอดีนรุนแรง
ประเมินผลการดำเนินงานการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน ค้นหาสาเหตุและกำหนดแนวทางการแก้ไข ดูแลกำกับการให้ยาเม็ดเสริมสารอาหารสำคัญที่มีส่วนประกอบของไอโอดีนแก่หญิงตั้งครรภ์ทุกราย จัดทำระบบเฝ้าระวัง ติดตามประเมินผล อย่างเคร่งครัด รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และสนับสนุนการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีน และผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีนในพื้นที่

12 ร้อยละของจำนวนทารกแรกเกิดที่มีค่า TSH มากกว่า 11
ร้อยละของจำนวนทารกแรกเกิดที่มีค่า TSH มากกว่า 11.2 mU/L in serum หรือมากกว่า 5.0 mU/L in blood ข้อมูลจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

13 คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนในครัวเรือนที่ได้มาตรฐาน
ข้อมูล : รณรงค์วันไอโอดีนแห่งชาติ สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

14 คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนของครัวเรือน ปี 2552
คุณภาพเกลือบริโภคเสริมไอโอดีนของครัวเรือน ( 30 ppm) อย่างน้อยร้อยละ 90 เป็นระดับที่มีความเชื่อมั่นว่าประชาชน จะได้รับสารไอโอดีนอย่างทั่วถึงและเพียงพอ

15 กรอบการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน พ.ศ. 2553 - 2555
กรอบการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน พ.ศ เกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า เกลือบริโภค / น้ำปลา / สารปรุงรส เกลืออุตสาหกรรมอาหาร / อาหารสัตว์ คุณภาพโรงงาน / เกลือ ทะเบียน อย. เกลือ ระบบเฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินผล ไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ / เด็กเล็ก TSH ทารกแรกเกิด คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน  แหล่งผลิต  ร้านค้า  ครัวเรือน พัฒนาการเด็ก การควบคุมป้องกัน วิจัย และปฏิบัติการ เฝ้าระวัง Sentinel ความสัมพันธ์ไอโอดีน กับพัฒนาการเด็ก มาตรการเสริม คู่มือปฏิบัติงาน จังหวัด / อปท. / อสม. ภาวะขาดสารไอโอดีน คุณภาพชีวิต ทุกกลุ่มวัย การบริหารจัดการ และสร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย หน่วยงานรัฐ ภูมิภาค จังหวัด /สสจ. / อสจ. / ปศจ. ฯลฯ องค์กรปกครองท้องถิ่น ชมรมผู้ประกอบการเกลือ ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน สร้างกระแสสังคม สื่อสารให้ผู้บริหาร สื่อสารความเสี่ยง สื่อสารสาธารณะ ภาคี เครือข่ายสื่อ

16 นโยบายรัฐบาลและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขในการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
เกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า (Universal Salt Iodization : USI) การจ่ายยาเม็ดเสริมไอโอดีนให้หญิงตั้งครรภ์ทุกรายตลอดการตั้งครรภ์ การเฝ้าระวังโรคขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ และ ทารกแรกเกิด

17 นโยบายรัฐบาลและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขในการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน (ต่อ)
4. การสุ่มตรวจคุณภาพเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน - แหล่งผลิต/นำเข้า - ร้านค้า - ร้านอาหาร - ครัวเรือน - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียน 5. การพัฒนาชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน 6. การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ “เพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว” อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง

18 กรมอนามัยดำเนินการแก้ไขปัญหา โดยใช้ยุทธศาสตร์ 6 ข้อ ดังนี้
กรมอนามัยดำเนินการแก้ไขปัญหา โดยใช้ยุทธศาสตร์ 6 ข้อ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การผลิต และกระจายเกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ โดยการบริหารจัดการที่ต่อเนื่อง และยั่งยืน 2 การจัดทำระบบการเฝ้าระวัง ติดตามและประเมินผลโครงการ 3 การสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น พันธมิตร และภาคีเครือข่าย เพื่อการมีส่วนร่วม 4 การประชาสัมพันธ์ รณรงค์ และการตลาด เชิงสังคม เพื่อการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีนอย่างต่อเนื่อง 5 การศึกษา วิจัย 6 การใช้มาตรการเสริมในระยะเฉพาะหน้า และมาตรการเสริมอื่น

19 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดทำระบบการเฝ้าระวังติดตามและประเมินผลโครงการ
ระบบเฝ้าระวังภาวะการขาดสารไอโอดีนในประชาชนไทย การเฝ้าระวังในคน การเฝ้าระวังในเกลือ

20 การเฝ้าระวังในเกลือ การควบคุมคุณภาพภายใน (โดยผู้ผลิต)
จุดผลิตเกลือเสริมไอโอดีน คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน การควบคุมคุณภาพ โดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ ร้านค้า ควบคุมโดย เจ้าหน้าที่ของรัฐ ควบคุมโดยเจ้าหน้าที่รัฐ,ผู้บริโภค, อสม., อย.น้อย ครัวเรือน

21 ระดับไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์
กระจายสินค้า ขาย สถานที่ผลิตเกลือ ร้านค้า ครัวเรือน การควบคุมคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนและเฝ้าระวังและติดตามการขาดสารไอโอดีน กลุ่มประชากร ระดับไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ พัฒนาการ TSH เด็กวัยก่อนเรียน เด็กแรกเกิด หญิงตั้งครรภ์

22 การดำเนินงานภาคีเครือข่าย
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พันธมิตร และภาคีเครือข่ายเพื่อการมีส่วนร่วม การดำเนินงานภาคีเครือข่าย พัฒนาชมรมผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีน พัฒนาชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน ประชุมภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือในการเสริมไอโอดีน ในผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ดังนี้ - บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป - น้ำปลา - ใส่เกลือเสริมไอโอดีนในขนมขบเคี้ยว จำนวน 37 รายการ - สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทยใช้ไอโอดีนเติมลงในอาหารไก่ เพื่อให้ได้ไข่ที่มีไอโอดีน 50 ไมโครกรัม/ฟอง ทดลองทำปลาร้าเสริมไอโอดีน

23

24

25 เป้าหมาย ทุกชุมชน/หมู่บ้าน ในทุกจังหวัด (ประมาณ 72,000 แห่ง) พัฒนาสู่ “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน”

26 “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน”
ประเมินรับรอง “ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน” โดย... สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ศูนย์อนามัยที่ และภาคีเครือข่ายระดับจังหวัด/พื้นที่ ใช้เกณฑ์การประเมินรับรอง ของกรมอนามัย (ศึกษารายละเอียดได้จากคู่มือการประเมินฯ)

27 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การประชาสัมพันธ์ รณรงค์ และการตลาดเชิงสังคม เพื่อการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีนอย่างต่อเนื่อง จัดงานวันไอโอดีนแห่งชาติ 25 มิถุนายนทุกปี ทั้งส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค ประชาสัมพันธ์การส่งเสริมการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีน ผ่านสื่อโทรทัศน์ วิทยุ โดยทูต ยูนิเซฟ (คุณธีรเดช(เคน) วงศ์พัวพันธ์) จัดมหกรรมรวมพลังประเทศไทย“เพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว” จัดพิมพ์สื่อเผยแพร่

28

29

30

31

32

33

34 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การศึกษาวิจัย
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การศึกษาวิจัย การศึกษาวิจัยสำรวจการบริโภคปริมาณโซเดียมคลอไรด์ของประชากรไทย ปริมาณการบริโภคโซเดียมคลอไรด์เฉลี่ยของประชากรไทย พ.ศ. 2551 ชนิดของการบริโภค ปริมาณ (กรัม/คน/วัน) อัตราการใช้เครื่องปรุง (ร้อยละของครัวเรือนทั้งหมด) 1. อาหารที่ปรุงประกอบในครัวเรือน 10.0 1.1 ผลิตภัณฑ์เครื่องปรุงรส 8.0 - เกลือ 3.0 91.53 - น้ำปลา 2.6 96.39 - ผงปรุงรส 0.4 61.60 - ซีอิ้วขาว 64.59 - กะปิ 0.3 63.17 - อื่นๆ (ซอสหอยนางรม และซอสปรุงรส) 1.3 1.2 อาหาร 2.0 2. อาหารปรุงสำเร็จ/อาหารว่าง/อาหารนอกบ้าน 0.8 รวม 10.8

35 ยุทธศาสตร์ที่ 6 การใช้มาตรการเสริมในระยะ เฉพาะหน้าและมาตรการเสริมอื่นๆ
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การใช้มาตรการเสริมในระยะ เฉพาะหน้าและมาตรการเสริมอื่นๆ การเสริมไอโอดีนในน้ำดื่ม ดำเนินการในโรงเรียน และหมู่บ้านที่ห่างไกล

36 ยุทธศาสตร์ที่ 6 (ต่อ) การใช้มาตรการเสริมในระยะ เฉพาะหน้าและมาตรการเสริมอื่นๆ
การจ่ายยาเม็ดเสริมไอโอดีนให้หญิงตั้งครรภ์ทุกรายตลอดการตั้งครรภ์และให้นมลูก 6 เดือน การใช้น้ำปลาเสริมไอโอดีน การบริโภคไข่ที่มีไอโอดีน ฯลฯ

37 สรุปนโยบายกรมอนามัย ในการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
การจ่ายยาเม็ดเสริมไอโอดีนให้หญิงตั้งครรภ์ทุกรายตลอดการตั้งครรภ์ เฝ้าระวังโรคขาดสารไอโอดีน โดยสุ่มตรวจไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ 300 ราย/จังหวัด ต่อเนื่อง 3 ปี (2553 – ดำเนินการในเดือนตุลาคมของทุกปี) สุ่มตรวจคุณภาพเกลือบริโภคเสริมไอโอดีนในครัวเรือน ครัวเรือน/อำเภอ ปีละ 2 ครั้ง (ธันวาคม, มิถุนายน) พัฒนาชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ “เพิ่มไอโอดีน เพิ่มไอคิว” อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง

38 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google