งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์ปัญหายาเสพติดและผู้มีอิทธิพลของจังหวัดลำพูน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์ปัญหายาเสพติดและผู้มีอิทธิพลของจังหวัดลำพูน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์ปัญหายาเสพติดและผู้มีอิทธิพลของจังหวัดลำพูน
การเร่งรัดแก้ไขปัญหายาเสพติด และปราบปรามผู้มีอิทธิพล สถานการณ์ปัญหายาเสพติดและผู้มีอิทธิพลของจังหวัดลำพูน ปีงบประมาณ (1 ต.ค เม.ย.2551 ) โดย ฝ่ายอำนวยการ ศตส.จ.ลำพูน

2 ปัจจัยภายนอกด้านพื้นที่ เส้นทางคมนาคม
แม่สาย ทางหลวงหมายเลข 107, 118 แม่ฟ้าหลวง แม่จัน เชียงของ ทางหลวงหมายเลข 108, 1095 แม่อาย เชียงราย ฝาง ไชยปราการ 118 107 แม่ฮ่องสอน เชียงดาว ปาย พะเยา 1095 เชียงใหม่ ลำพูน 108 11 ลำปาง แพร่ เด่นชัย เถิน อุตรดิตถ์ ปัจจัยภายนอกด้านพื้นที่ เส้นทางคมนาคม

3 ปัจจัยภายในของจังหวัดลำพูนที่เกี่ยวข้องกับปัญหายาเสพติด
พื้นที่เขตการปกครอง 4,505 ตร.กม อำเภอ 51 ตำบล 575/17 หมู่บ้าน/ชุมชน ประชากร 405,562 คน GDP 148,307 บาท อำเภอเมืองลำพูน ตำบล 159/17 ม/ช.ประชากร 141,786 คน สถานประกอบกิจการรวมกว่า 1,400 แห่ง มีการจ้างงานกว่า 78,000 คน ที่พักฯกว่า 21,000 ห้อง สถานบริการ/บันเทิง ร้านเกมส์/อินเตอร์เน็ต รวมกว่า 300 แห่ง อำเภอบ้านธิ ตำบล 36 หมู่บ้านประชากร 17,574 คน อำเภอแม่ทา ตำบล 71 หมู่บ้าน ประชากร 40,267 คน อำเภอเวียงหนองล่อง ตำบล 24 หมู่บ้าน ประชากร 18,485 คน อำเภอป่าซาง ตำบล 89 หมู่บ้าน ประชากร 58,457 คน อำเภอทุ่งหัวช้าง ตำบล 35 หมู่บ้าน ประชากร 19,177 คน อำเภอบ้านโฮ่ง ตำบล 62 หมู่บ้าน ประชากร 42,554 คน อำเภอลี้ ตำบล 99 หมู่บ้าน ประชากร 67,262 คน

4 สรุปสถานการณ์ปัญหายาเสพติดด้านพื้นที่ 1 ต. ค. 2550-30 เม. ย
สรุปสถานการณ์ปัญหายาเสพติดด้านพื้นที่ 1 ต.ค เม.ย จับกุมผู้จำหน่าย(จ.) 174 คน ผู้ครอบครอง(ค.) 96 คน ผู้เสพ(ส.) 93 คน ประเภทของยาเสพติด ยาบ้า(18,491.2 เม็ด) 97% กัญชา 2% สารระเหย 1% อำเภอเมืองลำพูน จ.118 ค.46 ส.11 =175 คน ประเภทของยาเสพติด ยาบ้า(15,188 เม็ด) 97% กัญชา 2% สารระเหย 1% อำเภอบ้านธิ จ.1 ค.5 ส.11 =17 คน ประเภทของยาเสพติด ยาบ้า(45.5 เม็ด) 94%กัญชา 6% อำเภอแม่ทา จ.6 ค.7 ส.19 =32 คน ประเภทของยาเสพติด ยาบ้า(1,099.5 เม็ด) 88%กัญชา 3% สารระเหย 9% อำเภอเวียงหนองล่อง จ.1 ค.5 ส.23 =29 คน ประเภทของยาเสพติด ยาบ้า(39 เม็ด) 100% อำเภอบ้านโฮ่ง จ.12 ค.13 ส.4 =29 คนประเภทของยาเสพติด ยาบ้า(1,733.5 เม็ด) 97%กัญชา 3% อำเภอป่าซาง จ.23 ค.14 ส.1 =38 คน ประเภทของยาเสพติด ยาบ้า(207 เม็ด) 97% สารระเหย 3% อำเภอลี้ จ.11 ค.5 ส.22 =38 คน ประเภทของยาเสพติด ยาบ้า(161.7 เม็ด) 97%กัญชา 3% อำเภอทุ่งหัวช้าง จ.2 ค.1 ส.2 =5 คน ประเภทของยาเสพติด ยาบ้า(17 เม็ด) 100%

5 สถานที่จับกุมผู้ต้องหาคดียาเสพติดในพื้นที่จังหวัดลำพูน
จำนวนผู้ถูกจับกุม(คน) 1 ต.ค เม.ย.2551 ลำดับ เมือง ป่าซาง บ้านโฮ่ง ลี้ แม่ทา ทุ่งหัวช้าง บ้านธิ เวียงหนองล่อง รวม 1 ถนน 47 10 20 8 15 5 3 16 124 2 ที่สาธารณะ 18 4 40 บ้านอยู่อาศัย 32 19 26 13 9 111 ที่พักเชิงพาณิชย์ 57 58 ร้านค้า/อาหาร 11 6 สวน-ทุ่งนา 7 สถานบันเทิง เกมส์อินเตอร์เน็ต ปั๊มน้ำมัน/อู่ซ่อม โรงงาน 175 38 29 17 363

6 สรุปสถานการณ์ด้านบุคคล(ตามภูมิลำเนา) 1 ต. ค. 2550-30 เม. ย
สรุปสถานการณ์ด้านบุคคล(ตามภูมิลำเนา) 1 ต.ค เม.ย.255จับกุมบุคคลในท้องที่ 293 คน คิดเป็นสัดส่วนต่อประชากร 1,000 คน = พฤติการณ์บุคคลในจังหวัดลำพูน ค้า 42% เสพ 29% ครอบครอง 29% - พฤติการณ์บุคคลจากจังหวัดอื่น ค้า 73% เสพ 10% ครอบครอง 17% ส่วนใหญ่อายุระหว่าง ปี อาชีพรับจ้าง ว่างงาน นักเรียน/นักศึกษา อ.เมือง จับ 89 คน สัดส่วน (ค้า 56% เสพ 12% ครอบครอง 32%) อายุ 13-18ปี 10% อายุ 19-25ปี 36% อายุ 26-30ปี 20% อายุ 31ปีขึ้นไป 34% รับจ้าง 93% นักเรียน 3%ว่างงาน ค้าขาย จังหวัดอื่น จับ 70 คน สัดส่วน (เชียงใหม่ 42% ลำปาง 12% เชียงราย11% พะเยา 9%) (ค้า 73% เสพ 10% ครอบครอง 17%) อายุ 19 ปีขึ้นไป 90% -รับจ้าง ว่างงาน อ.ป่าซาง จับ 56 คน สัดส่วน (ค้า 55% เสพ 11% ครอบครอง 34%) อายุ ปี 9% อายุ ปี 43% อายุ 26-30ปี 25% อายุ 31ปีขึ้นไป 23%รับจ้าง 84% นักเรียน 7% ค้าขาย เกษตร อ.บ้านธิ จับ 20 คน สัดส่วน (ค้า 25% เสพ 50% ครอบครอง 25%) อายุ 13-18ปี 35% อายุ 19-25ปี 60% อายุ 31ปีขึ้นไป 5% รับจ้าง 85% ว่างงาน 15% อ.เวียงฯ จับ 24 คน สัดส่วน (ค้า 8% เสพ 71% ครอบครอง 21%) อายุ 13-18ปี 13% อายุ 19-25ปี 38% อายุ 26-30ปี 25% อายุ 31ปีขึ้นไป 25% รับจ้าง 96% เกษตร 4% อ.แม่ทา จับ 31 คน สัดส่วน (ค้า 26% เสพ 55% ครอบครอง 19%) อายุ 13-18ปี 13% อายุ 19-25ปี 32% อายุ 26-30ปี 26% อายุ 31ปีขึ้นไป 29% รับจ้าง 84% นักเรียน 6% เกษตร 6% อ.บ้านโฮ่ง จับ 28 คน สัดส่วน (ค้า 29% เสพ 18% ครอบครอง 53%) อายุ 13-18ปี 25% อายุ 19-25ปี 29% อายุ 26-30ปี 7% อายุ 31ปีขึ้นไป 39%รับจ้าง 89% ว่างงาน 11% อ.ทุ่งหัวช้าง จับ 4 คน สัดส่วน (ค้า 50% เสพ 50% ครอบครอง 0%) อายุ 13-18ปี 100% รับจ้าง 75%ว่างงาน 25% อ.ลี้ จับ 41 คน สัดส่วน (ค้า 44% เสพ 39% ครอบครอง 17%) อายุ 13-18ปี 15% อายุ 19-25ปี 37% อายุ 26-30ปี 27% อายุ 31ปีขึ้นไป 22% รับจ้าง 78% เกษตร 10% นักเรียน 10%

7 แนวโน้มการดำเนินงานจับกุมผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
ปี (1 ต.ค เม.ย.2549) ปี 2550: (1 ต.ค เม.ย.2550) ปี 2551: (1 ต.ค เม.ย.2551) ประเภทข้อหา จำนวน ผลต่าง ร้อยละ ค้า+ครอบครอง 248 184 -64 -25.8 270 +86 +46.7 เสพ 99 44 -50 -50.5 93 +49 +111.3 รวม 347 228 -119 -34.3 363 +135 +59.2

8 สถานการณ์ ผู้เสพที่เข้ารับการบำบัด
1 2 1 2

9 (1)สรุปสถานการณ์ปัญหายาเสพติดในจังหวัดลำพูน ตั้งแต่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ – ๓๐ เมษายน ๒๕๕๑
* ตัวยา ตรวจยึดยาบ้า 18,491.2 เม็ด ส่วนใหญ่เป็นกลุ่ม G1 * สถานการณ์การค้าและแพร่ระบาดยาเสพติดในจังหวัดลำพูน กลุ่มผู้ค้าในจังหวัดได้แก่ อำเภอเมืองลำพูน และ ป่าซาง (ปริมาณการครอบครองยาบ้าเฉลี่ย เม็ด/คน) มีการติดต่อกลุ่มเครือข่ายผู้ค้าในจังหวัดเชียงใหม่ (ปริมาณการครอบครองยาบ้าเฉลี่ย 200 เม็ด/คน) ร่วมกันลักลอบนำยาบ้าเข้ามาในปริมาณมาก/ครั้ง เพื่อจำหน่ายในพื้นที่อำเภอเมืองลำพูน โดยเฉพาะในตำบลบ้านกลาง + เหมืองง่า และตำบลอื่นๆรวม 7 ตำบล รอบนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ และเริ่มมีการใช้สารระเหยเพิ่มขึ้นบางพื้นที่ * สถานที่และสถานประกอบกิจการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สถานบริการ/สถานบันเทิง และ ปั๊มน้ำมัน ส่วนใหญ่มักใช้เป็นสถานที่นัดหมายในการรับส่ง-ซื้อขาย มากกว่าเสพ บ้านอยู่อาศัย และ ที่พักอาศัยเชิงพาณิชย์ ส่วนใหญ่มักใช้เป็นสถานที่ซุกซ่อนยาเสพติด เพื่อเสพและจำหน่ายเพิ่มขึ้น

10 สรุปสถานการณ์ยาเสพติดอำเภอเมืองลำพูน (15 ตำบล) ตั้งแต่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๐ – ๓๐ เมษายน ๒๕๕๑
ด้านพื้นที่ จับกุมได้มากตามลำดับ 1. ต.บ้านกลาง % 2. ต.เหมืองง่า % 3. ต.ในเมือง % 4. ต.ป่าสัก 6.3% 5. ต.ต้นธง 6.3% อ.สารภี จ.เชียงใหม่ ช่องทางนำเข้า นิคมอุตสาหกรรม อ.หางดง จ.เชียงใหม่ อ.บ้านธิ จ.ลำพูน ด้านบุคคล จับกุมได้มากตามลำดับ 1. ต.ศรีบัวบาน 16 คน 6/12 หมู่บ้าน R.1.781 #2. ต.บ้านกลาง 9 คน 6/12 หมู่บ้าน R.1.023 #3. ต.เหมืองง่า 8 คน 5/10 หมู่บ้าน R.0.559 4. ต.เหมืองจี้ คน 5/14 หมู่บ้าน R.0.869 5. ต.ริมปิง คน 2/10 หมู่บ้าน R.1.001 - อายุ 19 ปีขึ้นไป 90% อาชีพรับจ้าง 93% - พฤติการณ์ค้า+ครอบครอง 87% 2 3 อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่ 3 5 1 2 5 เครือสหพัฒน์ 1 4 อ.ป่าซาง จ.ลำพูน ด้านตัวยา ยาบ้า 97% กัญชา 2% สารระเหย 1% ยาบ้า 15, เม็ด (90.2% ของจังหวัด) อ.แม่ทา จ.ลำพูน 4 ผู้เข้ารับการบำบัด รวม 61 คนใน 14 ตำบล สมัครใจ 38 คน /บังคับ 21 คน / ต้องโทษ 2 คน (มะเขือแจ้/ศรีบัวบาน/ป่าสัก/บ้านแป้น/เหมืองจี้/บ้านกลาง/ในเมือง/ เหมืองง่า/เวียงยอง/ประตูป่า/หนองช้างคืน/ริมปิง/ต้นธง/หนองหนาม)

11 สถานการณ์ยาเสพติดระดับตำบล ของอำเภอเมืองลำพูน
56 1 25 2 3 18 5 11 4 11 6 8 7 6 6 5 7 7 5 2 1 1) ต.บ้านกลาง สถานที่จับกุม: ที่พักเชิงพาณิชย์ 52% ถนน 25% ร้านค้า 9% 2) ต.เหมืองง่า สถานที่จับกุม: ที่พักเชิงพาณิชย์ 44% ถนน 28% บ้าน 16% 3) ต.ในเมือง สถานที่จับกุม: ถนน 39% ที่พักเชิงพาณิชย์ 22% บ้าน 22% 4) ต.ป่าสัก สถานที่จับกุม: ถนน 36% ที่พักเชิงพาณิชย์ 18% บ้าน 18% 5) ต.ต้นธง สถานที่จับกุม: ที่พักเชิงพาณิชย์ 55% บ้าน 18% ที่สาธารณะ 18% 6) ต.ริมปิง สถานที่จับกุม: บ้าน 100% (ม.6 บ.สันริมปิง จ.4 คน/ค.4 คน) เป็น บุคคลในหมู่บ้าน 6 คน/ ม.2 บ.ร่องกาศ 1 คน

12 (2.1) การดำเนินงานแก้ไขปัญหายาเสพติด
ด้านป้องกัน(ปัญหาเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและปัจจัยเสี่ยง ) จำนวนเยาวชนกลุ่มเสี่ยง(อายุระหว่าง ปี) ทั้งจังหวัด รวม 32,990 คน สามารถดำเนินการสำรวจค้นหาเยาวชนกลุ่มเสี่ยงสูงในหมู่บ้าน/ชุมชน และคัดกรองจำแนกพฤติกรรมเสี่ยงรวม 1,159 คนเพื่อนำเข้าค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสม โดยมีสภาเด็กและเยาวชนร่วมกับเครือข่ายเยาวชนกลุ่มต่างๆในพื้นที่ เป็นกลไกขับเคลื่อนกิจกรรมเชิงบวกอย่างต่อเนื่อง 143 คน ออกตรวจจัดระเบียบสังคมสถานประกอบการบันเทิงทุกประเภท โดยเน้นหนักในเขตพื้นที่อำเภอเมืองลำพูน ตรวจพบและจับกุมสถานประกอบการต่างๆที่ฝ่าฝืนระเบียบกฎหมายจำนวน 77 ครั้ง(เกมส์อินเตอร์เน็ต 17 แห่ง/สถานบันเทิง 22 แห่ง/ผู้ใช้บริการ 61 คน/พักใช้ใบอนุญาตสถานบันเทิง 2 แห่ง ) ดำเนินกิจกรรมโครงการ Drug Abuse Resistance Education (D.A.R.E) การศึกษาเพื่อต่อต้านการใช้สารเสพติดในโรงเรียนระดับประถมศึกษาจำนวน 9 โรงเรียน

13 ด้านการปราบปราม (การลดผู้ค้า)
ด้านการปราบปราม (การลดผู้ค้า) การดำเนินงาน หน่วยนับเป็นรายคดี ปีงบประมาณ พ.ศ.2550 ปีงบประมาณ พ.ศ.2551 1 ต.ค มี.ค.50 1 เม.ย ก.ย.50 1 ต.ค มี.ค.51 1 เม.ย ก.ย.51 เป้า หมาย ผล 1) รายสำคัญ 4 5 2 3 2) การจับกุมในข้อหาสำคัญ 92 157 91 103 120 203 41 3) การจับกุมนักค้าตามหมายจับ 8 - 10 1 4) การตรวจสอบทรัพย์สิน 13 11 23 7 5) ข้อร้องเรียนของประชาชน 12 6) การขยายผล 21

14 ด้านการบำบัดรักษา (การลดผู้เสพ) การติดตามช่วยเหลือผู้ที่เคยเกี่ยวข้อง
ด้านการบำบัดรักษา (การลดผู้เสพ) ระบบการบำบัดรักษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2550 ปีงบประมาณ พ.ศ.2551 1 ต.ค มี.ค.50 1 เม.ย ก.ย.50 รวมผล 1 ต.ค มี.ค.51 1 เม.ย ก.ย.51 เป้า หมาย ผล สมัครใจ 148 37 147 69 106 75 108 35 7 บังคับ 25 78 20 115 110 30 22 ต้องโทษ - รวม 173 145 167 251 185 221 65 29 การติดตามช่วยเหลือผู้ที่เคยเกี่ยวข้อง การฝึกอาชีพ การศึกษาต่อ การมีงานทำ แหล่งเงินทุน การรักษาโรค เป้า หมาย ผล 309 120 60 323 678 6 74 32

15 (2.2)การดำเนินงานปราบปรามผู้มีอิทธิพล
ลักษณะ ประเภท กลุ่มที่มีการกระทำความผิด กลุ่มที่มีแนวโน้มกระทำความผิด กลุ่มที่พึงห่วงใย/เฝ้าระวัง รวม เป้าหมาย เป้าหมาย ผล การพนัน 2 26 30 สินค้าหนีภาษี เงินกู้นอกระบบ มือปืนรับจ้าง 7 9 ทรัพยากรธรรมชาติ 5 1 ยาเสพติด รับจ้างทวงหนี้ รวม 8 ประเภท 20 19 55 ทำงานต่างประเทศ จับกุมผู้กระทำความผิด 19 คน หลบหนีการจับกุม 1 คน

16 (3)การสกัดกั้นยาเสพติดตามแนวชายแดนพื้นที่เน้นหนัก-ไม่มี
(4)การเพิ่มศักยภาพผู้ปฏิบัติงาน/หน่วยงาน * จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการผู้ปฏิบัติงานประจำ ศตส.อำเภอ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวม 66 แห่งร่วมกับหน่วยงานระดับจังหวัด ทุก 6 เดือน เพื่อใช้ข้อมูลในพื้นที่ร่วมกับงานการข่าว วิเคราะห์สถานการณ์ด้านพื้นที่ บุคคล และตัวยา ในการกำหนดเป้าหมายจัดทำแผนปฏิบัติการด้านปราบปราม ด้านบำบัดรักษา ด้านป้องกัน ให้สอดคล้องกับปัญหาและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการใช้จ่ายเงินงบประมาณ * จัดประชุมโต๊ะข่าวตามภารกิจ(Focus Group) เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงลึก กำหนดเป็นเป้าหมายในการดำเนินงานตามความจำเป็นเร่งด่วน โดยมีหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบงานด้านปราบปราม(ตำรวจภูธรจังหวัด) ด้านบำบัดรักษา(สาธารณสุขจังหวัด) ด้านป้องกัน(ฝ่ายอำนวยการ ศตส.จ.+ป้องกันจังหวัด) เป็นเจ้าภาพ

17 (5)บทบาทของ อปท.และประชาชน/ชุมชน
* ศตส.อปท.ทุกแห่งรวม 58 แห่ง ตั้งงบประมาณแก้ไขปัญหายาเสพติดสำหรับดำเนินการเอง/ร่วมกับหน่วยงานอื่น/สนับสนุนหน่วยงานอื่นรวม 22,566,635.-บาท รับผิดชอบการดำเนินงานด้านป้องกันแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชน การบำบัดรักษา และการติดตามช่วยเหลือผู้ที่เคยมีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับยาเสพติดเป็นหลัก รวมทั้งการสนับสนุนงานปราบปราม/จัดระเบียบสังคม * ฝึกอบรมจัดตั้งกลุ่มพลังประชาชน“ผู้พิทักษ์รักษ์ลำพูน” ทุกหมู่บ้าน/ชุมชนครบ 592 แห่งๆละ คนรวม 9,757 คนทำหน้าที่แจ้งข้อมูลข่าวสาร/ ทำประชาคมค้นหาผู้เกี่ยวข้อง/ ร่วมปฏิบัติงานกับผู้ประสานพลังแผ่นดินที่มีอยู่ 30,622 คน

18 (6)การดำเนินงานเกี่ยวกับการแจ้งข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลข่าวสารจากประชาชน อาสาสมัคร ฯลฯ ตำรวจภูธรจังหวัดตู้ ปณ.13 ฝอ.ศตส.จ./ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดทางตู้ ปณ.101 ศตส.อ. ศตส.อปท. ชุดปฏิบัติการเฉพาะกิจจังหวัด (ป้องกันจังหวัด) ชุดสืบสวน/จับกุม ภ.จว. ที่ทำการปกครองอำเภอ ชุดสืบสวน/จับกุม สภ. ดำเนินการเรื่องร้องเรียนแจ้งข่าวสาร รวม 31 เรื่อง ไม่ปรากฏตัวผู้ถูกร้องเรียน/ยุติเรื่อง 1 เรื่อง จับกุมผู้ถูกร้องเรียนดำเนินคดี 4 เรื่อง ผู้ถูกร้องเรียนไม่ปรากฏพฤติการณ์ตามที่แจ้ง 5 เรื่อง ผู้ถูกร้องเรียนเลิก/หยุดพฤติการณ์ 2 เรื่อง ผู้ถูกร้องเรียนเสียชีวิต 1 เรื่อง อยู่ระหว่างสืบสวน/ติดตามพฤติการณ์ 18 เรื่อง ข้อมูลข่าวสาร ประสานงาน มอบหมาย

19 (7)การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร
ผลงานและกิจกรรมต่างๆของจังหวัดลำพูน 1) สถานีวิทยุโทรทัศน์ ในรายการมองเมืองเหนือ 2 ครั้ง 2) สื่อหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น รวม 3 ฉบับ 3) สถานีวิทยุคลื่นหลักของราชการ และสถานีวิทยุคลื่นท้องถิ่น รวม 41 สถานี 4) เครือข่ายสารสนเทศ ของสำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 และสำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดลำพูน

20 (8)การประสานการปฏิบัติระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ข้อมูลข่าวสารจากประชาชน อาสาสมัคร ฯลฯ ปปส.ภ.5 ศตส.มท. ตำรวจภูธรจังหวัด ฝอ.ศตส.จ. ศูนย์ข้อมูลกลาง – รวบรวม วิเคราะห์ สนับสนุน ศตส.อ. ชุดสืบสวน/จับกุม ภ.จว. ศตส.อปท. คุมประพฤติจังหวัด เรือนจำจังหวัด สาธารณสุขจังหวัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สาธารณสุข อำเภอ/ สถานพยาบาล ปกครอง+ท้องที่+ท้องถิ่น สถานีตำรวจภูธร ข้อมูลข่าวสาร ประสานงาน มอบหมาย

21 9)แผนปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดจังหวัดลำพูน
ตามปฏิบัติการ "รวมพลังประชาไทย พ้นภัยยาเสพติด" 1 เมษายน- 30 กันยายน 2551 งบประมาณ ป.ป.ส.2,275,000.-บาท (ปราบปราม 500,000.- ป้องกัน 1,775,000.-บาท) ส่วนราชการอื่น 1,115,351.-บาท/ศตส.ท้องถิ่น 15,364,610.-บาท รวมทั้งสิ้น 18,754,961.- บาท

22 สถานการณ์ด้านเยาวชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง
พื้นที่ ประเด็น เมืองลำพูน ป่าซาง 3. บ้านโฮ่ง ลี้ แม่ทา ทุ่งหัวช้าง 7. บ้านธิ 8. เวียงหนองล่อง รวม 8 อำเภอ กลุ่มเสี่ยง/เสี่ยงสูง 11, /150 4,644 /158 3,458 /150 5,792 /160 3,341 /170 1,774 /173 1,347 /150 1,443 /48 32,990 /1,159 สถานบันเทิง/เสี่ยง 197/24 21/0 11/0 16/0 19/0 - 10/0 5/0 279/19 หอพัก/ที่พัก/เสี่ยง 1,103 /80 2/1 1/1 1,112/82 ร้านเกมส์ /เสี่ยง 130/17 31 15 10 3 13 215 สวนสาธารณะ 2 เป้าหมายเน้นหนัก แนวทางการดำเนินงานลดกลุ่มเสี่ยงและปัจจัยเสี่ยง งบประมาณ ป.ป.ส. 1,175,800.- /ส่วนราชการอื่น 536,240.-/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 8,782,200.- รวม 10,494,240.- ด้านพื้นที่ หมู่บ้าน/ชุมชน+สถานศึกษาที่พัก+สถานบันเทิง+เกมส์อำเภอเมือง+ป่าซาง+แม่ทา+ลี้+บ้านโฮ่ง ด้านบุคคล อายุ ปี อาชีพ นักเรียน และ ว่างงาน 1) จัดประชุมประชาคมหมู่บ้าน/ชุมชน ค้นหา ตรวจสอบและคัดกรองแยกประเภท กลุ่มเสี่ยง จัดทำข้อมูล ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเตรียมดำเนินกิจกรรม 2) จัดค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเยาวชนแต่ละประเภทตามความเหมาะสม 3) จัดกิจกรรมใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่สังคมโดยการร่วมกับกลุ่มเครือข่าย 4) โครงการ D.A.R.E. ในสถานศึกษาระดับประถม รวม 13 แห่ง 5) ดำเนินการจัดระเบียบสังคมแบบบูรณาการอย่างต่อเนื่อง โดยใช้มาตรการทาง กฎหมายลงโทษสถานประกอบการ และผู้ใช้บริการที่กระทำผิด 6) จัดทำระบบข้อมูลทะเบียนผู้เข้าพักในหอพัก/ที่พักเชิงพาณิชย์ ให้เป็นปัจจุบัน และส่งเสริมสนับสนุนให้รางวัลแก่สถานประกอบการที่ให้ความร่วมมือในการเฝ้า ระวังและแจ้งข่าวสารบุคคลที่มีพฤติการณ์ สถิติการสำรวจค้นหาในหมู่บ้าน/ชุมชน โดยใช้ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังจังหวัด

23 สถิติการจับกุมผู้ค้า โดยใช้ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังจังหวัด
สถานการณ์ด้านผู้ค้า รวม 101 คน/6 เดือนแรก ปี 2551 รวม 81 คน/6 เดือนแรก ปี 2550 รวม 21 คน/6 เดือนแรก ปี 2551 รวม 10 คน/6 เดือนแรก ปี 2550 เป้าหมายเน้นหนัก แนวทางการดำเนินงานลดผู้ค้า งบประมาณ ป.ป.ส. 480,000.- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 177, รวม 657,650.- ด้านพื้นที่ อำเภอเมือง+ป่าซาง ด้านบุคคล จังหวัดอื่น-ต่างท้องที่, เมืองลำพูน, ป่าซาง, ลี้, บ้านโฮ่ง อายุ ปี อาชีพรับจ้างทั่วไป และ ว่างงาน 1) ใช้ระบบเฝ้าระวังร่วมกับงานการข่าวทั้งใน-นอกพื้นที่ ในการดำเนินงานสืบสวน จับกุม การขยายผลจับกุมผู้ร่วมขบวนการ-เครือข่าย การตรวจสอบทรัพย์สิน 2) ใช้แหล่งข่าวในระดับหมู่บ้าน/ตำบล ที่มีอยู่ในการตรวจสอบและแจ้งข่าวสาร 3) ใช้มาตรการเพิ่มการลงโทษทางกฎหมายแก่ผู้ค้าที่มีพฤติการณ์ซ้ำ 4) พัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงานประจำจุดตรวจ จุดสกัด ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น โดยการประสานใช้ข้อมูลของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งใน-นอกพื้นที่ สถิติการจับกุมผู้ค้า โดยใช้ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังจังหวัด

24 สถิติการจับกุมและค้นหาผู้เสพเข้าบำบัด
สถานการณ์ด้านผู้เสพ 1 5 2 3 4 เป้าหมายเน้นหนัก แนวทางการดำเนินงานลดผู้เสพ ด้านพื้นที่ หมู่บ้าน/ชุมชน+สถานศึกษาอำเภอเมือง+ป่าซาง+แม่ทา+ลี้+เวียงหนองล่อง ด้านบุคคล อายุ ปี อาชีพรับจ้างทั่วไป นักเรียน และ ว่างงาน 1) ใช้ระบบเฝ้าระวังร่วมกับงานการข่าวในระดับหมู่บ้าน/ชุมชน ในการค้นหาผู้เสพ เพื่อนำเข้าสู่ระบบบำบัดที่เหมาะสม 2) จัดค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่ผู้ต้องโทษ ผู้ถูกคุมประพฤติ ก่อนปล่อยตัวกลับ สู่สังคม โดยใช้หลักศาสนาและการรวมกลุ่มเพื่อช่วยเหลือให้กำลังใจ 3) ตรวจสอบผู้ถูกคุมประพฤติ ผู้พ้นโทษ ผู้ผ่านการบำบัด ที่ยังมีพฤติการณ์ซ้ำ เพื่อนำเข้าสู่ระบบบำบัดแบบควบคุมตัวตามความเหมาะสม 4) ติดตามช่วยเหลือ ดูแลผู้ผ่านกระบวนการบำบัดในด้านอาชีพ การศึกษา โดยมี ศตส.อปท. เป็นเจ้าภาพหลักรับผิดชอบด้านงบประมาณ และหน่วยงานภาครัฐ ให้การสนับสนุนด้านข้อมูลวิชาการ 5) จัดให้มีระบบเฝ้าระวังในสถานประกอบกิจการประเภทต่างๆ สถานศึกษา รวมทั้ง จัดให้มีกิจกรรมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม สถิติการจับกุมและค้นหาผู้เสพเข้าบำบัด โดยใช้ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังจังหวัด

25 "รวมพลังไทย เทิดไท้องค์ภูมิพล เฉลิมฉลอง 80 พรรษา"
ปฏิบัติการ "รวมพลังไทย เทิดไท้องค์ภูมิพล เฉลิมฉลอง 80 พรรษา" "รวมพลังประชาไทย พ้นภัยยาเสพติด" จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์ปัญหายาเสพติดและผู้มีอิทธิพลของจังหวัดลำพูน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google