งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลการดำเนินงานการแก้ไขปัญหา ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลการดำเนินงานการแก้ไขปัญหา ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลการดำเนินงานการแก้ไขปัญหา ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด
ณ โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพมหานคร วันที่ 4 กันยายน 2555 สำนักงาน ป.ป.ส. 1

2 แผนการแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด
เป้าหมายของแผน 1. นำผู้เสพติดเข้ารับการบำบัดรักษา 400,000 ราย 2. ติดตามผู้ผ่านการบำบัดรักษาไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ 80% สมัครใจ 330,000 ราย บังคับบำบัด 50,000 ราย ต้องโทษ 20,000 ราย ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 300,000 ราย งบประมาณ : 1,944,527,540 บาท - งบฯ ปปส. 447,266,295 บาท - งบฯ ท้องถิ่น 1,008,875,000 บาท - งบฯ กรมการปกครอง 112,484,145 บาท แบบควบคุมตัว 17,760 ราย ไม่ควบคุมตัว 69,840 ราย งบประมาณ : 613,020,200 บาท เรือนจำ/ทัณฑสถาน 15,000 ราย สถานพินิจและศูนย์ฝึกอบรมฯ 3,200 ราย - งบประมาณ : 23,516,700 บาท สถานบริการ สธ. จำนวน 29,700 ราย งบประมาณ : 419,917,500 บาท 2

3 แผนการแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด เป้าหมาย ผล %
(11 กันยายน 2554 – 2 กันยายน 2555) ผลการปฏิบัติรองรับปฏิบัติการ (Input) เป้าหมาย ผล % 1. ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (1 อำเภอ 1 ค่าย) 928 แห่ง 1,510 แห่ง 162.72 2. วิทยากรค่ายปรับเปลี่ยนต้นแบบ (ครู ก) 77 ชุด 77 ชุด 100.00 3. วิทยากรค่ายปรับเปลี่ยนระดับอำเภอ (ครู ข) 2,130 ชุด 229.53 4. ศูนย์ติดตามแบบครบวงจรอำเภอ 2,236 แห่ง 240.95 5. ศูนย์ฟื้นฟูฯ บังคับบำบัดแบบควบคุมตัว 35 3 แห่ง 8.57 6. โรงเรียนวิวัฒน์พลเมืองฝ่ายปกครอง ระบบสมัครใจ 76 76 แห่ง 100

4 แผนการแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด
(11 กันยายน 2554 – 2 กันยายน 2555) ผลการนำผู้เสพติดเข้าบำบัดรักษา ผู้เข้ารับการบำบัดรักษา จำนวน 493,916 ราย (123.48%) สมัครใจ บังคับ ต้องโทษ 340,945 ราย 136,452 ราย 16,519 ราย ** จากระบบสารสนเทศกรมคุมประพฤติ - ตรวจพิสูจน์ : 170,453 ราย ฟื้นฟูฯ : 155,849 ราย (ณ วันที่ 1 ต.ค ก.ย.55) ค่ายฯ : 208,094 ราย -ค่าย ศพส. : 187,054 ราย - มาตราการ 315 : 5,173 ราย ค่าย นร.นศ. : 3,601 ราย จิตสังคมบำบัดในรร. : 12,266 ราย ก.สธ. : 132,851 ราย 4

5 ผลการติดตามผู้ผ่านการบำบัดรักษา เป้าหมาย 80 %
เป้าหมาย 80 % (11 กันยายน 2554 – 2 กันยายน 2555) ผู้เข้ารับการบำบัดรักษา จำนวน 493,916 ราย ติดตามผู้ผ่านการบำบัดฯ จำนวน 205,189 ราย (41.54%) ระบบ บสต. (สมัครใจ+บังคับ+ต้องโทษ) 86,376 ราย ระบบ ศพส. (ผู้ผ่านค่ายฯ) 118,813 ราย จากผู้ผ่านการบำบัดครบกำหนด จำนวน 150,995 ราย - ผลการติดตามแยกตามระบบ -- ต้องโทษ 65% -- สมัครใจ 56% -- บังคับ 51% - ผลการติดตามครั้งที่ 1 -- หยุดเสพได้ 73,125 ราย (84.66%) -- เสพซ้ำ ,950 ราย (3.42%) - การศึกษา ,056 ราย - ฝีกอาชีพ ,221 ราย - จัดหางานให้ทำ 26,619 ราย - ให้ทุนประกอบอาชีพ 11,269 ราย

6 ผลการนำผู้เสพติดเข้าบำบัดรักษาภาพรวม จำแนกเป็นรายภาค
ปปส.ภ. เป้ารวม ผลรวม สมัครใจ บังคับบำบัด ต้องโทษ รวม 400,000 493,916 (123%) 340,945 (85) 136,452 (34) 16,519 (4) ภาค 1 47,200 49,637 (105%) 32,808 (70%) 14,120 (30%) 2,709 (6%) ภาค 2 44,400 58,624 (132%) 36,005 (81%) 20,839 (47%) 1,780 (4%) ภาค 3 42,400 66,297 (156%) 47,569 (112%) 16,466 (39%) 2,262 (5%) ภาค 4 37,200 72,909 (196%) 53,075 (143%) 18,824 (51%) 1,010 (3%) ภาค 5 27,200 38,428 (141%) 25,806 (95%) 11,270 (41%) 1,352 (5%) ภาค 6 24,800 40,296 (162%) 30,483 (123%) 8,139 (33%) 1,674 (7%) ภาค 7 50,000 52,298 (105%) 35,532 (71%) 14,604 (29%) 2,162 (4%) ภาค 8 27,600 35,852 (130%) 29,603 (107%) 4,727 (17%) 1,522 (6%) ภาค 9 47,189 (173%) 39,424 (145%) 6,409 (24%) 1,356 (5%) กทม. 72,000 32,386 (45%) 10,640 (15%) 21,054 (29%) 692 (1%)

7 สรุปผลการจัดค่ายฯ (ค่าเฉลี่ยจำนวนผู้เข้าค่ายประมาณ 30-70 คนต่อค่าย)
ปปส.ภาค จำนวนค่าย จำนวนผู้เข้าค่าย อัตราส่วนผู้เข้าค่ายแต่ละครั้ง รวม 1,510 178,781 58 ภาค 1 131 12,972 53 ภาค 2 99 16,705 87 ภาค 3 268 28,818 ภาค 4 291 32,452 51 ภาค 5 152 8,702 31 ภาค 6 157 19,666 77 ภาค 7 133 19,316 78 ภาค 8 144 14,401 43 ภาค 9 24,186 76 กทม. 4 1,563 391

8 ข้อมูลที่ซ้ำซ้อน จำนวน 75,275 ราย ศพส. บสต. เลข 13 หลัก
ข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อมูลเชิงปริมาณ ศพส. บสต. เลข 13 หลัก จำนวน 75,275 ราย

9 ปปส.ภาค เป้าหมาย รวม ผลงาน 3 ระบบ รายชื่อซ้ำ กัน (ราย) ซ้ำกับ สมัครใจ บังคับ ต้องโทษ 400,000 452,325 75,275 63,524 11,276 475 ภาค 1 47,200 44,669 3,509 3,078 420 11 ภาค 2 44,400 55,339 6,355 5,619 717 19 ภาค 3 42,400 59,406 10,471 8,519 1,895 57 ภาค 4 37,200 64,937 12,708 9,482 3,153 73 ภาค 5 27,200 34,652 5,975 5,146 815 14 ภาค 6 24,800 38,219 5,876 4,938 900 38 ภาค 7 50,000 47,567 11,530 8,906 2,438 186 ภาค 8 27,600 33,632 10,646 10,251 349 46 ภาค 9 44,846 8,205 7,585 589 31 กทม. 72,000 29,058

10 ผู้เข้ารับการบำบัดรักษาทั้งประเทศ จำแนกตามการเข้ารับการบำบัดฯ

11 ผู้เข้ารับการบำบัดรักษาทั้งประเทศ จำแนกตามระดับความรุนแรงของการเสพ

12 ผู้เข้ารับการบำบัดรักษาทั้งประเทศ จำแนกตามรูปแบบการบำบัด

13 การวิเคราะห์ ปัญหาการดำเนินงาน

14 - เครื่องมือในการคัดกรองยังขาดความชัดเจน ในบางพื้นที่ใช้
คุณภาพการดำเนินงาน 1. การค้นหา - มาตรการทางสังคม (การทำประชาคม) ไม่สามารถกดดันให้ผู้เสพ สมัครใจเข้าบำบัดได้ จึงต้องใช้การตรวจปัสสาวะเป็นหลัก และเร่งระดม ดำเนินการอาจทำให้มีการนำกลุ่มเสี่ยงปะปนเข้ามาในค่ายฯ ได้ 2. การคัดกรอง - เครื่องมือในการคัดกรองยังขาดความชัดเจน ในบางพื้นที่ใช้ ความรู้สึก ประสบการณ์ แยกเฉพาะผู้ที่มีอาการทางจิตเป็นหลัก

15 คุณภาพการดำเนินงาน 3. การจัดค่ายฯ
- บางพื้นที่ลดเวลาในจัดค่ายฯ ลงจาก 9 วัน - ไม่มีกระบวนการประเมินก่อนออกจากค่ายฯ 4. การติดตามฯ - ขาดการบูรณาการในพื้นที่ เน้นการติดตามแยกตามระบบการบำบัด และบางพื้นที่เน้นการติดตามฯ ผู้ผ่านค่ายเป็นหลัก และยังขาดการดำเนินงาน ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ผ่านการบำบัดฯ

16 1. ระบบข้อมูลของจังหวัด :
การบริหารจัดการ 1. ระบบข้อมูลของจังหวัด : - ไม่มีการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลด้าน Demand ทั้งในระดับจังหวัดและอำเภอ และ ยังขาดความชัดเจนเกี่ยวกับบทบาทการเป็นเจ้าภาพหลักในการบริหารจัดการฯ - การรายงานข้อมูลผลการนำผู้เสพติดเข้าบำบัดรูปแบบค่ายฯ ระหว่างระบบ รายงาน ศพส. และบสต.ยังไม่สอดคล้องกัน เนื่องจากความเข้าใจที่ไม่ตรงกัน 2. วิทยากรการจัดทำค่ายฯ - วิทยากรครู ข ส่วนใหญ่ไม่มีศักยภาพเพียงพอ หลายอำเภอจัดค่ายโดย วิทยากรครู ก เป็นหลัก - การจัดค่าย 1 ครั้ง ต้องระดมสรรพกำลังไม่น้อยกว่า 20 คน ต่อ ค่าย

17 การบริหารจัดการ 3. งบประมาณ
- ในปี 2555 มีความล่าช้า ทยอยลงจังหวัด ทำให้ต้องเร่งดำเนินการ ในช่วงปลายงบประมาณ ซึ่งอาจจะส่งผลคุณภาพในการจัดค่ายฯ - งบฯ ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น มีเงื่อนไขมาก และขาด ความยืดหยุ่น


ดาวน์โหลด ppt ผลการดำเนินงานการแก้ไขปัญหา ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google