งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

OpenCARE: Open exchange for Collaborative Activities in Response to Emergencies วันที่ 2 กันยายน 2551 เครือข่ายเตือนภัยและการสื่อสารฉุกเฉินเพื่อรับมือกับภัยพิบัติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "OpenCARE: Open exchange for Collaborative Activities in Response to Emergencies วันที่ 2 กันยายน 2551 เครือข่ายเตือนภัยและการสื่อสารฉุกเฉินเพื่อรับมือกับภัยพิบัติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 OpenCARE: Open exchange for Collaborative Activities in Response to Emergencies
วันที่ 2 กันยายน 2551 เครือข่ายเตือนภัยและการสื่อสารฉุกเฉินเพื่อรับมือกับภัยพิบัติ By Phat Kulphaichitra 1

2 นายพัฒนดิฐ กุลไพจิตร HS1WFK
Thai, 46 years old Ex-Country Manager of MCI International, Inc – USA in Thailand for 15 years Present Jobs: Secretary General, Radio Amateur Society of Thailand, under the Royal Patronage of HM the King; Advisor to the National Disaster Warning Center (Thailand) - NDWC Consultant for Emergency Communication Planning for the Thai Red Cross Society; Consultant and member of OpenCARE workgroup; Country Representative in WG3-ISO/TC223 Consultant: Emcomm / ITU-D Geneva 2

3 Problems of Emergency Response
Damages/Losses Time Collaboration Mitigation Livelihood Gov. Warning Agency General Public Gov. Disaster Prevention and Mitigation Gov. Police / Military Gov. EMS / Health and Medical Gov. Other offices Relief and Support NGOs International Org / NGOs Local Volunteers Lack of information / Sharing, Different SOP 3 Lack of Immediate Decision, Command Lack of Good Coordination, Drills Other Excuses

4 1.1 Interoperability and Interworking
Chapter 1 1.1 Interoperability and Interworking 4

5 (PROBLEMS) (SUGGESTIONS) (CHALLENGES)
1.1 Interoperability and interworking A major difficulty experienced by players involved in disaster management is the incompatibility of their telecommunication equipment and software. This problem has been experienced in almost all operations making the exchange of information difficult. This challenge is similar to that of military operations, that share with emergency operations a number of characteristics, such as a rapidly and often unpredictable changing in physical and social environment, and the need for rapid and inter-dependant decision-making at all levels. Their telecommunication requirements are comparable. The military terms of tactical and strategic communications best describe what has been provided for a coordinated response to any emergency having more than local implications. In order to deal with this challenge, standardization of telecommunication networks is essential to achieve compatibility and make the exchange of information possible at least within the two groups i.e. technical and strategic networks. So far, gateways seem to be the only realistic solution although not an ideal one. In tactical communications, this function is mostly carried out by a human interface – the operator or the disaster manager who uses more than one network at a time. For this, one needs solid knowledge of the structures and procedures of the networks involved. However, in strategic communications, automatic gateways that have been developed between different systems require the technical staff to be familiar with the technology and how it may be utilized. (PROBLEMS) Incompatibility of equipment and software; Difficult to exchange information; (SUGGESTIONS) To solve the problems, standardization is required; Gateway is the only realistic solution but still not good enough; Tactical communications carried out by a human interface; (CHALLENGES) Solid knowledge of the structures and procedures is needed; Gateways that developed require technical staffs to utilized; 5

6 6

7  ข้อ ๕.๗ การส่งเสริมกิจการโทรคมนาคมเฉพาะกิจ
ข้อ ๑ วิสัยทัศน์ กิจการโทรคมนาคมไทยเข้มแข็ง... ข้อ ๒ หลักการสำคัญ แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม ฉบับที่ ๒... ข้อ ๓ ความสอดคล้อง แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม ฉบับที่ ๒... ข้อ ๔ สาระสำคัญการพัฒนากิจการโทรคมนาคมภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ข้อ ๕ ยุทธศาสตร์ แนวทางและเป้าหมายการพัฒนากิจการโทรคมนาคมในระยะ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๓) ข้อ ๖ การปฏิบัติภารกิจตามอำนาจหน้าที่แห่งพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๗ ตัวชี้วัดและผลลัพธ์การพัฒนากิจการโทรคมนาคม ข้อ ๘ การติดตามและประเมินผล  ข้อ ๕.๗ การส่งเสริมกิจการโทรคมนาคมเฉพาะกิจ 7

8  ข้อ ๕.๗.๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ส่งเสริม...
๕.๗ การส่งเสริมกิจการโทรคมนาคมเฉพาะกิจ ๕.๗.๑.๑ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ มีกลไกและแนวทางพัฒนาความร่วมมือกับองค์กรเครือข่ายด้านโทรคมนาคมเฉพาะกิจ เพื่อเสริมสร้างให้เกิดการใช้โครงข่ายโทรคมนาคมเฉพาะกิจที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ ประหยัดและคุ้มค่า จัดตั้งหน่วยงานเพื่อเป็นกลไกส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานด้านกิจการโทรคมนาคมเฉพาะกิจ ส่งเสริมการศึกษาวิจัยด้านเทคโนโลยีและบุคลากรในกิจการโทรคมนาคมเฉพาะกิจ พัฒนาบุคลากรและเทคโนโลยีด้านโทรคมนาคมเฉพาะกิจให้มีศักยภาพ และพอเพียง จัดทำระบบฐานข้อมูลโทรคมนาคมเฉพาะกิจเพื่อให้องค์กรเครือข่ายด้านโทรคมนาคมเฉพาะกิจใช้ประโยชน์ร่วมกัน เผยแพร่ข้อมูลด้านโทรคมนาคมเฉพาะกิจ เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าใจถึงการใช้เทคโนโลยีโทรคมนาคมที่ทันสมัย และเหมาะสมในโครงข่ายโทรคมนาคมเฉพาะกิจ และปฏิบัติตามกฎหมายและกฎ ระเบียบได้อย่างถูกต้อง ส่งเสริมการวิจัยโครงข่ายโทรคมนาคมเฉพาะกิจเพื่อประชาชนและป้องกันภัยพิบัติที่ร้ายแรงและสาธารณภัย  ข้อ ๕.๗.๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ส่งเสริม... 8

9 ๕.๗.๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ส่งเสริมให้มีการสร้างและการใช้โครงข่ายโทรคมนาคมเฉพาะกิจที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และให้เกิดการเชื่อมโยงโครงข่ายกิจการโทรคมนาคมเฉพาะกิจของภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับโครงข่ายโทรคมนาคมสาธารณะ อย่างสอดคล้องกัน สามารถใช้งานได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ปลอดภัยและทันต่อสถานการณ์ ทั้งในยามปกติและกรณีที่มีเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ ๕.๗.๒.๑ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ มีการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมเฉพาะกิจทุกโครงข่าย รวมทั้งกิจการวิทยุสมัครเล่น และสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สะดวก รวดเร็วปลอดภัย ครอบคลุม และทันต่อสถานการณ์ ทั้งในยามปกติและในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ จากแผนแม่บท เครือข่ายเตือนภัยและแลกเปลี่ยนข้อมูล Operations Center ความเป็นจริง ? เชื่อมโยงการสื่อสารฉุกเฉินภัยพิบัติ สอดคล้องกับแผนแม่บทของประเทศไทย เครือข่ายเชื่อมโยงวิทยุสมัครเล่น วิจัยพัฒนาเทคโนโลยี 9 ถ่ายทอดองค์ความรู้

10 Amateur Radio Services Emergencies Communication Vehicle
Alert and Warning Compatibility of systems: not necessary! Information exchange : automatically. Full RF EmCom Voice / Data / Digital Plug-ins is the key! Work as Gateways and Data Conversion. Tactical communications carry out by OpenCARE Communications Center. PPDR-Dispatch Center Solid knowledge: NOT required. The Plug-ins will work as gateways for data and information exchange. The Operation Center gives solutions for Interoperation and Interworking ARES/TARES Amateur Radio Services ECV Emergencies Communication Vehicle แก้ปัญหาได้ในระดับสากล 10

11 OpenCARE เครือข่ายอิเล็คทรอนิคส์ เพื่อการ:
เตือนภัย ลดความล่าช้าในการประสานงาน แลกเปลี่ยนข้อมูลอัตโนมัติ สื่อสารฉุกเฉิน 11

12 OpenCARE EDXL EDXL EDXL EDXL
Open exchange for Collaborative Activities in Response to Emergencies ใช้มาตรฐานกลางด้านโครงข้อมูลภัยพิบัติ Emergency Data eXchange Language - EDXL ITU X.1303 EDXL EDXL EDXL EDXL 12

13 OpenCARE ข้อเท็จจริง OpenCARE คือ OpenCARE ไม่ใช่
Infrastructure สำหรับแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงาน ช่วยลดเวลาในการประสานงาน ลดจำนวนบุคลากรในการป้อน/อ่านข้อมูล เป็นระบบที่ใช้ Open Source และใช้ Open Standard OpenCARE ไม่ใช่ Database ไม่เก็บข้อมูลไว้ในตัวเครือข่าย ระบบช่วยวิเคราะห์ข้อมูล หน่วยงานต้องจัดการกับข้อมูลเอง ระบบช่วยการตัดสินใจในภาวะฉุกเฉิน ข้อมูลที่ส่งเข้ามาในเครือข่าย OpenCARE สามารถเปิดเผยต่อสาธารณชนได้ หน่วยงานเป็นผู้เลือกตัวข้อมูลที่ต้องการส่ง OpenCARE มิได้เป็นตัวดึงข้อมูลออกมาเอง หรือล้วงความลับ 13

14 โครงสร้างขององค์กร จดทะเบียนเป็น “ มูลนิธิโอเพ่นแคร์ (OpenCARE Foundation)” วัตถุประสงค์ ช่วยเหลือเรื่องการเตือนภัยและการสื่อสารฉุกเฉิน ช่วยประสานงานหน่วยงานภาครัฐและประชาชน เป็นศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฉุกเฉิน ขอบเขตการทำงานในระดับนานาชาติ โดยร่วมมือกับ ITU / IFRC วิทยุสมัครเล่นนานาชาติ IARU 14

15 โครงสร้างการบริหาร สำนักงานใหญ่ Software Park
ประธานกรรมการ ศ.ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ ประธานที่ปรึกษา ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกุล กรรมการ ตฤณ ตัณฑเศรษฐี กรรมการ สำนักงาน กทช กรรมการ บมจ กสท กรรมการ สภากาชาดไทย กรรมการ IFRC กรรมการ กรมป้องกันฯ กรรมการ ศูนย์เตือนภัยฯ กรรมการ พัฒนดิฐ กุลไพจิตร เลขาฯ ในสายงาน ผู้อำนวยการ ชุณหวิตร Liaison วรวีร์ PR, Medias นนท์ IT Tech OC Manager Operator 1 Operator 3 Operator 5 IT Tech Electronic Operator 2 Operator 4 Operator 6 สำนักงานใหญ่ Software Park Finance OC Admin ศูนย์ปฏิบัติการโอเพ่นแคร์ สถานีภาคพื้นดิน บมจ กสท จังหวัดนนทบุรี 15

16 ข้อมูลอ้างอิง http://opencare.org
Search (google): OpenCARE, โอเพ่นแคร์ 16

17 is a Liaison Organization of ISO/TC223
OpenCARE is a Liaison Organization of ISO/TC223 17

18 18

19 ISO/TC223 Societal Security 4th Plenary Meeting - The Hague November 13-16, 2007
19

20 OpenCARE Presentation in WG3 ISO/TC223
20

21 21

22 หน่วยงานที่ใช้ OpenCARE
ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ NDWC สภากาชาดไทย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ) กระทรวงมหาดไทย วิทยุเรือและความปลอดภัยทางทะเล กสท โทรคมนาคม สำนักงาน คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ กทช เครือข่ายวิทยุสมัครเล่นของประเทศไทย 22

23 23

24 24

25 กรรมการ กทช พิจารณาโครงการ
ชี้แจงหลักการ ITU - กรุงเทพฯ สำนักงาน กทช SNAP เดือน มี.ค. 2551 UNDP - ESCAP - กรุงเทพฯ กรรมการ กทช กรรมการ กทช พิจารณาโครงการ 25

26 Radio Emergency Communications Center Emergency and Disaster
Link to EECV Aviation Sea Search and Rescue Dispatch พร้อมทำงานได้แล้ว Plug-ins Amateur Radio สนับสนุน เครือข่าย วิทยุสมัครเล่น ทั่วประเทศ Operations Center Monitoring / Input Radio Emergency Communications Center เครือข่ายราชการ และความปลอดภัย ต่างๆ ศวสส Missing Person® I am Alive ® Incident and Unify Command System Emergency and Disaster Operations Center EDOC 26 The Operations Center

27 Emergency Communications Net Dispatch Center Amateur Radio Services
โดยการสนับสนุนจาก กสท โทรคมนาคม (บมจ) 27

28 Latitude 13°51'54.12"N Longitude 100°31'1.19"E
OpenCARE Operation Center Latitude 13°51'54.12"N Longitude 100°31'1.19"E

29

30

31 หน้าที่สำคัญของศูนย์ปฏิบัติการโอเพ่นแคร์ OpenCARE Operations Center (OCOC)
ศูนย์ปฏิบัติการในภาวะเหตุการณ์ฉุกเฉินและภัยพิบัติ (Emergency and Disasters Operations Center – EDOC) ระบบรับข่าวสาร รายงานเหตุการณ์ผิดปรกติและภัยพิบัติต่างๆ จากสื่ออิเล็คทรอนิคส์ที่ครอบคลุมได้ทั้งในและต่างประเทศ ระบบสื่อสารสองทางเพื่อการประสานงานและสนับสนุน ระบบสื่อสารฉุกเฉินคู่ขนานและสำรองวิทยุสมัครเล่น 31

32 Disaster Operations Center for Emergency Communication Support System
Military 1 Opr 2 Vice Commander Supreme OC Chairman ศวสส Director CAT Opr 1 NDWC DDPM TRCS NTC NECTEC IFRC EMS-MOH DPR Police Fire HAM CB ITU UNDP 32

33 33

34 เข้าเครือข่าย OpenCARE ต้องเสียเงินเท่าไร?
หน่วยงานที่เข้าร่วมเครือข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูล ไม่ต้องเสียงบประมาณ (ยินดีรับบริจาค) เริ่มต้นด้วยการทำบันทึกความเข้าใจ (MOU) ระบุความต้องการรับ และขอบเขตการแบ่งปันข้อมูล กำหนดช่องวิทยุ / โทรศัพท์ / VoIP เพื่อการประสานงาน L


ดาวน์โหลด ppt OpenCARE: Open exchange for Collaborative Activities in Response to Emergencies วันที่ 2 กันยายน 2551 เครือข่ายเตือนภัยและการสื่อสารฉุกเฉินเพื่อรับมือกับภัยพิบัติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google