งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แก้ไขปัญหาทารกแรกเกิด นน.<2,500 กรัม อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แก้ไขปัญหาทารกแรกเกิด นน.<2,500 กรัม อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แก้ไขปัญหาทารกแรกเกิด นน.<2,500 กรัม อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย
สรุปผลการถอดบทเรียน แก้ไขปัญหาทารกแรกเกิด นน.<2,500 กรัม รพ.สต. บ้านหม้อ อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย

2 ที่มา/หลักการและเหตุผล
ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ในกลุ่มแม่ที่มีอายุยังน้อยเพิ่มมากขึ้นและการเข้าถึงคลินิคฝากครรภ์ช้าลง เสี่ยงต่อคุณภาพชีวิตของทารกในครรภ์

3 รายงานผลการปฏิบัติงานการดูแลสุขภาพ มารดา และทารก ตำบลบ้านหม้อ
ปี พ.ศ ทารกน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม (ไม่เกินร้อยละ ๗) หญิงตั้งครรภ์มีค่า BMI ตามเกณฑ์ (ร้อยละ ๙๐) การคลอดก่อนกำหนด (ไม่เกินร้อยละ ๑๐) ผลการตรวจ TSH (≤ ร้อยละ ๓) เกิด นน. <2,500 ร้อยละ ANC ปกติ ทั้ง หมด ก่อนกำหนด สูงกว่าเกณฑ์ 2554 30 2 6.67 34 32 94.11 2555 25 3 12.00 29 90.63 1 4 (ข้อมูลเดือนตุลาคม 2553– กุมภาพันธ์ 2555)

4 ความสัมพันธ์ของอายุหญิงคลอดบุตรกับทารกน้ำหนัก
แรกเกิดต่ำกว่า2,500 กรัม รพสต.บ้านหม้อปี ปี พ.ศ. อายุหญิงคลอด (ปี) 15-19 20-24 25-29 30-34 >35 รวม 2554 1 2 2555 3 (ข้อมูลเดือนตุลาคม 2553– กุมภาพันธ์ 2555)

5 จำนวนและน้ำหนักทารกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม ปี 2554-2555
จำนวนและน้ำหนักทารกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม ปี ปี พ.ศ. นน.ทารกแรกเกิด (กรัม) 1,500-1,999 2,000-2,499 รวม 2554 1 2555 2 3 (ข้อมูลเดือนตุลาคม 2553– กุมภาพันธ์ 2555)

6 “แก้ไขปัญหาทารกแรกเกิด นน.< 2,500 ”
การดำเนินงาน “แก้ไขปัญหาทารกแรกเกิด นน.< 2,500 ” รพ.แม่ข่าย, รพสต. จัดบริการตามเกณฑ์ “รพ.สายใยรัก” 1. ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของแม่หลังคลอดที่มีบุตรอายุต่ำกว่า 2 ปีในพื้นที่เป้าหมาย 2. ปัจจัยที่มีผลต่อระยะเวลาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวต่อเนื่องครบ 6 เดือน 3. ศึกษาผลของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ที่เกิดขึ้นต่อครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่นและพัฒนาการเด็กในพื้นที่เป้าหมาย ภาคี อบต.,รร.,ศพด.,ผู้นำฯ,อสม.,ปราชญ์,ชมรมสายใยรัก ทารกแรกเกิด นน.>2,500 gm เด็กเจริญเติบโต พัฒนาการสมวัย ครอบครัว,หญิงตั้งครรภ์ เยาวชน,

7 แก้ไขปัญหาทารกแรกเกิด นน.< 2,500 กรัม
กระบวนการดำเนินงาน แก้ไขปัญหาทารกแรกเกิด นน.< 2,500 กรัม 1. ขับเคลื่อนร่วมกันระหว่าง รพ.แม่ข่ายและ รพสต. 2. ขับเคลื่อนระดับชุมชนและท้องถิ่น 3. พัฒนามาตรฐานการบริการสถานบริการให้ได้ตามเกณฑ์ รพ.สต.สายใยรัก 4. สร้างความรู้ บูรณาการร่วมกับงาน “ตำบลนมแม่”

8 แก้ไขปัญหาทารกแรกเกิด นน.< 2,500 กรัม
กระบวนการดำเนินงาน แก้ไขปัญหาทารกแรกเกิด นน.< 2,500 กรัม 1. ขับเคลื่อนร่วมกันระหว่าง รพ.แม่ข่ายและ รพสต. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก , การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

9 1. ขับเคลื่อนร่วมกันระหว่าง รพ.แม่ข่ายและ รพสต.
การศึกษาดูงานตำบลนมแม่ ภาคีเครือข่ายร่วมต้อนรับการประเมิน รพ.แม่ข่ายผ่านเกณฑ์ รพ.สายใยรักระดับเขต และ รพสต.ผ่านเกณฑ์ รพสต.สายใยรักระดับจังหวัด

10 2. ขับเคลื่อนระดับชุมชนและท้องถิ่น

11 2. ขับเคลื่อนระดับชุมชนและท้องถิ่น

12 2. ขับเคลื่อนระดับชุมชนและท้องถิ่น

13 2. ขับเคลื่อนระดับชุมชนและท้องถิ่น

14 3. พัฒนามาตรฐานการบริการสถานบริการให้ได้ตามเกณฑ์ รพ.สต.สายใยรัก

15 3. พัฒนามาตรฐานการบริการสถานบริการให้ได้ตามเกณฑ์ รพ.สต.สายใยรัก

16 3. พัฒนามาตรฐานการบริการสถานบริการให้ได้ตามเกณฑ์ รพ.สต.สายใยรัก

17 4. สร้างความรู้ บูรณาการร่วมกับงาน “ตำบลนมแม่”

18 4. สร้างความรู้ บูรณาการร่วมกับงาน “ตำบลนมแม่”

19 4. สร้างความรู้ บูรณาการร่วมกับงาน “ตำบลนมแม่”

20 รายงานผลการปฏิบัติงานการดูแลสุขภาพ มารดา และทารกตำบลบ้านหม้อ
ปี พ.ศ ทารกน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม (ไม่เกินร้อยละ ๗) หญิงตั้งครรภ์มีค่า BMI ตามเกณฑ์ (ร้อยละ ๙๐) การคลอดก่อนกำหนด (ไม่เกินร้อยละ ๑๐) ผลการตรวจ TSH (≤ ร้อยละ ๓) เกิด นน. <2,500 ร้อยละ ANC ปกติ ทั้ง หมด ก่อนกำหนด สูงกว่าเกณฑ์ 2554 30 2 6.67 34 32 94.11 2555 29 3 10.34 35 91.42 1 3.45 (ข้อมูลเดือนตุลาคม 25523– กันยายน 2555)

21 ผลลัพธ์สถานะสุขภาพแม่และเด็ก
ปี พ.ศ. ผลลัพธ์ด้าน ฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ (ร้อยละ ๕๐) เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ 2554 34 13 38.23 2555 35 20 57.15 ข้อมูล ตุลาคม 2553 –กันยายน 2555)

22 ผลลัพธ์สถานะสุขภาพแม่และเด็ก เครือข่ายบริการ สุขภาพ รพ.สต. บ้านหม้อ
ผลลัพธ์สถานะสุขภาพแม่และเด็ก เครือข่ายบริการ สุขภาพ รพ.สต. บ้านหม้อ ปี พ.ศ. ผลลัพธ์ด้าน อัตราเด็กอายุ๐-๖เดือน เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย ๖เดือน (ร้อยละ ๖๐ หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ ๒.๕ ต่อปี) เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ 2554 30 14 46.66 2555 29 19 65.51 ข้อมูล ตุลาคม กันยายน 2555

23 ผลลัพธ์สถานะสุขภาพแม่และเด็ก เครือข่ายบริการ สุขภาพ รพ.สต. บ้านหม้อ
ผลลัพธ์สถานะสุขภาพแม่และเด็ก เครือข่ายบริการ สุขภาพ รพ.สต. บ้านหม้อ ปี พ.ศ. ผลลัพธ์ด้าน เด็กแรกเกิด๐-๕ปีมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ ๙๐ เป้า หมาย ผลงาน ร้อยละ 2554 129 128 99.22 2555 145 144 99.31 ข้อมูล ตุลาคม กันยายน 2555)


ดาวน์โหลด ppt แก้ไขปัญหาทารกแรกเกิด นน.<2,500 กรัม อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google