งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการ กระทรวงสาธารณสุข พ. ศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการ กระทรวงสาธารณสุข พ. ศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการ กระทรวงสาธารณสุข พ. ศ
แผนบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๕๙ 1

2 ความเป็นมา แผนบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘ แบ่งเป็น ๘ นโยบาย
นโยบายเร่งด่วนจะเริ่มดำเนินการในปีแรก นโยบายความมั่นคงของรัฐ นโยบายเศรษฐกิจ นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวตกรรม นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ความเป็นมาที่ต้องประกาศปฏิญญา กระทรวงสาธารณสุข ได้ปรับปรุงบทบาท กำหนดให้มี 4 ระบบ โดยมีหน่วยงานเจ้าภาพรับผิดชอบ ในการมองภาพรวมระดับประทศ เป็นที่เข้าในกันว่าระบบส่งเสริมสุขภาพรวมอนามัยสิ่งแวดล้อม 2

3 แผนปฏิบัติราชการกระทรวงสาธารณสุข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙)
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงสาธารณสุข ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) เกี่ยวข้อง นโยบายรัฐบาล ๓ นโยบาย นโยบายที่ ๑ นโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการ ในขวบปีแรก นโยบายที่ ๒ นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ นโยบายที่ ๔ นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต

4 นโยบายรัฐที่ ๑ นโยบายเร่งด่วนปีแรก
1.2 การแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็นวาระแห่งชาติ กระทรวง: ศูนย์บำบัด ฟื้นฟู และเฝ้าระวังป้องกัน 1.5 สันติสุข ปลอดภัย ในพื้นที่ชายแดนใต้ กระทรวง: อัตราป่วย/ตาย ๓ อันดับชายแดนใต้ลดลงร้อยละ ๕ ต่อปี 1.14 พัฒนาระบบประกันสุขภาพ กระทรวง: คนไทยมีหลักประกัน บริการทั่วถึง มีคุณภาพ /ระบบการแพทย์ฉุกเฉินที่มีคุณภาพ ทั่วถึง เท่าเทียม

5 นโยบายรัฐที่ ๒ ความมั่นคงแห่งรัฐ
๒.๑ เทิดทูนและพิทักษ์ไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ ๒.๔ พัฒนาระบบการเตรียมความพร้อมแห่งชาติ นโยบายรัฐที่ ๔ นโยบายสังคม และคุณภาพชีวิต นโยบายข้อ ๓ เร่งรัดสร้างสุขภาพเพื่อลดป่วย ตายจาก NCD นโยบายข้อ ๔ คุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพและอาหารปลอดภัย นโยบายข้อ ๗ สร้างแรงจูงใจ เพิ่มขีดความสามารถอสม. นโยบายข้อ ๑๔ พัฒนา บังคับใช้กม.ให้เอื้อประโยชน์ต่องานสาธารณสุข นโยบายข้อ ๑๖ มีการสื่อสารสาธารณะ ให้ความรู้ปชช.ทั่วถึง

6 นโยบายรัฐที่๔ นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต
ประเด็นที่ ๔.๓ นโยบายการพัฒนาสุขภาพประชาชน รัฐบาล รมต. กระทรวง ลงทุนด้านบริการ ระบบบริการ/ พัฒนาระบบบริการ /บุคลากร ค่าตอบแทน มาตรการสร้างสุขภาพ อาหารปลอดภัย อาหารปลอดภัย ครัวไทยครัวโลก เมนูชูสุขภาพ อาหารฮาลาล อาหารฮาลาล อาหารฮาลาล คุ้มครองผู้บริโภค กลุ่มวัยต่างๆ กลุ่มเฉพาะ ๔ กลุ่ม พัฒนาศูนย์เด็กเล็ก เด็ก ๐-๖ ปี บัตรสุขภาพเด็ก ศูนย์ ๓ C สุขภาพแม่ตั้งครรภ์ ศูนย์ ๓ C พัฒนาการเด็กปฐมวัย พัฒนาการเด็ก รร.ส่งเสริมสุขภาพ ANC คุณภาพ ตั้งครรภ์วัยรุ่น ๗๐ ปี ไม่มีคิว เสริมสร้างสุขภาพสตรีไทย ดูแลผสย.พิการ ออกกำลังกาย/คนไทยไร้พุง ลดการเจ็บป่วยเรื้อรัง สร้างนำซ่อมสุขภาพ สุขภาพดีวิถีไทย

7 กลยุทธ์/วิธีการดำเนินการ ในแผนบริหารราชการแผ่นดิน
พัฒนาระบบและกลไกการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามต่อสุขภาพและระบบเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข เสริมสร้างความรู้และพัฒนาทักษะในการดำเนินชีวิตและการสร้างเสริมสุขภาพที่จะนำไปสู่การดูแลตนเองด้านสุขภาพ เสริมสร้างความเข้มแข็งและกระบวนการเรียนรู้ให้แก่ผู้บริโภค รวมทั้งสนับสนุนให้มีกลไกการคุ้มครองผู้บริโภคภาคประชาชน พัฒนาขีดความสามารถของอสม. ในการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพและสร้างเสริมเครือข่ายในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขชุมชน ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยพัฒนาสุขอนามัย พัฒนาเครือข่ายบริการ ระบบบริการ ระบบการฟื้นฟูสุขภาพ โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และคนพิการ

8 แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี(๒๕๕๖-๒๕๕๙) กระทรวงสาธารณสุข
วิสัยทัศน์ : เป็นองค์กรหลักในการพัฒนาระบบสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี พันธกิจ พัฒนาและบริหารนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เสริมมสร้างระบบบริหารจัดการอย่างมีธรรมาภิบาล และจัดระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน เสริมสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการพัฒนาระบบสุขภาพ วิจัยและพัฒนาและการจัดการความรู้ด้านสุขภาพ

9 แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี(๒๕๕๖-๒๕๕๙) กระทรวงสาธารณสุข
เป้าประสงค์เชิงนโยบาย(ข้อ ๔.๓ การพัฒนาสุขภาพประชาชน) : เสริมสร้างระบบสุขภาพให้มีคุณภาพและ มาตรฐาน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี เป้าหมายบริการระดับกระทรวงสาธารณสุข เป้าประสงค์ ๑ ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม สามารถลดภาระโรคและภัยคุกคาม ตลอดจนได้รับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ เป้าประสงค์ ๒ ประชาชนได้รับบริการสุขภาพทั้งในภาวะปกติและฉุกเฉินที่มีคุณภาพมาตรฐานอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม

10 เป้าหมายบริการข้อ ๑ พฤติกรรม สนองนโยบาย ๔.๓ การพัฒนาสุขภาพของประชาชน
เป้าหมายบริการข้อ ๑ พฤติกรรม สนองนโยบาย ๔.๓ การพัฒนาสุขภาพของประชาชน ยุทธ์ ๑ เสริมสร้างให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม และพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพ ระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ภัยสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ หน่วยงานรับผิดชอบ : สำนักงานปลัดกระทรวง กรมควบคุมโรค กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สำนักคณะกก.อาหารและยา องค์การเภสัชกรรม

11 เป้าหมายบริการข้อ ๑ พฤติกรรม สนองนโยบาย ๔.๓ การพัฒนาสุขภาพของประชาชน
เป้าหมายบริการข้อ ๑ พฤติกรรม สนองนโยบาย ๔.๓ การพัฒนาสุขภาพของประชาชน ยุทธ์ ๒ พัฒนาศักยภาพอสาสมัครสาธารณสุข ภาคีเครือข่ายและอปท.ในการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ หน่วยงานรับผิดชอบ : กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

12 เป้าประสงค์ ๑ ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและอยู่สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ประเด็นยุทธ์ ๑ และ ๒
ตัวชี้วัด ๑. อัตราตายทารก ไม่เกิน ๑๕ ต่อการเกิดมีชีพพันคน ต่อปี ๒. อัตราส่วนการตายมารดา ไม่เกิน ๑๘ ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ต่อปี ๓. อัตราตายโรคหลอดเลือดสมองลดลงร้อยละ ๒ ต่อปี ๔. อัตราตายโรคหัวใจขาดเลือดลดลง ร้อยละ ๑ ต่อปี ๕. จำนวนผู้ติดเชื้อ เอชไอวี รายใหม่ (ปี๒๕๕๕=๗,๕๐๐ ราย ปี ๒๕๕๖=๖,๒๐๐ ราย) ๖. อัตราการป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ ๐.๑๒ ต่อปี ๗. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน ๖.๕ ต่อประชากรแสนคน ต่อปี ๘. ร้อยละของตำบลที่มีการจัดการสุขภาพที่เข้มแข็งตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด (ปี ๒๕๕๕ = ๑๐ % ปี ๒๕๕๖ = ๒๐%) ๙. ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ (ปี ๒๕๕๕ = ๙๒ % ปี ๒๕๕๖ = ๙๓%)

13 เป้าหมายบริการข้อ ๒ ปชช. ได้รับบริการคุณภาพ สนองนโยบาย ๔
เป้าหมายบริการข้อ ๒ ปชช.ได้รับบริการคุณภาพ สนองนโยบาย ๔.๓ การพัฒนาสุขภาพของประชาชน ยุทธ์ ๓ พัฒนาระบบบริหารและระบบบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขทั้งภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน รวมทั้งผลิตบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุขให้เพียงพอ หน่วยงานรับผิดชอบ : สำนักงานปลัดกระทรวง กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล

14 เป้าหมายบริการข้อ ๒ ปชช. ได้รับบริการคุณภาพ สนองนโยบาย ๔
เป้าหมายบริการข้อ ๒ ปชช.ได้รับบริการคุณภาพ สนองนโยบาย ๔.๓ การพัฒนาสุขภาพของประชาชน ยุทธ์ ๔ พัฒนาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือกให้มีคุณภาพ หน่วยงานรับผิดชอบ : กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก

15 เป้าหมายบริการข้อ ๒ ปชช. ได้รับบริการคุณภาพ สนองนโยบาย ๔
เป้าหมายบริการข้อ ๒ ปชช.ได้รับบริการคุณภาพ สนองนโยบาย ๔.๓ การพัฒนาสุขภาพของประชาชน ตัวชี้วัดยุทธ์ ๓ - ๔ ร้อยละสถานบริการภาครัฐผ่านการรับรองมาตรฐาน HA จน.ปชช.ที่เจ็บป่วยฉุกเฉินได้รับบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่มีคุณภาพ ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของสถานบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละของประชาชนได้รับบริการผู้ป่วยนอกด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

16 สนองนโยบาย ๒ นโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการในปีแรก
ยุทธ์ ๕ : การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : ระดับคะแนนความพึงพอใจของปชช.ต่อระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า หน่วยงาน : ส.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

17 สนองนโยบาย ๒ นโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการในปีแรก
ยุทธ์ ๖ :พัฒนาระบบบริการสุขภาพในจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้สอดคล้องกับสถานการ์และสภาพแวดล้อมโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ตัวชี้วัด : อัตราป่วยหรือตายด้วยปัญหาสุขภาพที่สำคัญของปชช.ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ๓ อันดับแรก หน่วยงาน : สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมสุขภาพจิต

18 สนองนโยบาย ๒ นโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการในปีแรก
ยุทธ์ ๗ :เสริมสร้างระบบเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันบำบัดรักษาและฟื้นฟูสภาพของประชาชนผู้เสพ ผู้ติดยาและสารเสพติดให้มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละของปชช.ผู้เสพ ผู้ติดยา และสารเสพติดผ่านการบำบัดรักษา และฟื้นฟูตามเกณฑ์ที่กกำหนด หน่วยงาน : สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมสุขภาพจิต กรมการแพทย์ อย. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

19 สนองนโยบาย ๒ นโยบายเร่งด่วนที่จะดำเนินการในปีแรก
ยุทธ์ ๘ : พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินที่มีคุณภาพมาตรฐานอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม ทั้งภาวะปกติและภัยภิบัติ ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉินที่มาด้วยระบบ การแพทย์ฉุกเฉิน หน่วยงาน : สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

20 ข้อเสนอเชิงนโยบาย “ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคทุกกลุ่มวัย เพื่อคนไทยสุขภาพดี”
กลุ่มเป้าหมาย ขนาดปัญหา ข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเด็ก ๐-๕ ปี - พัฒนาสมวัยร้อยละ ๖๗ บ้าน:แจก Book start - ๖-๑๑ ด.โลหิตจาง ๕๖.๓ % รพ.:คัดกรอง/เสริมเหล็ก ๑-๕ ปี โลหิตจาง ๒๕.๙ % ฟันผุ ๙๒ % ศูนย์เด็กนิทานไม่พอ ๖๐% ศูนย์เด็ก: มาตรฐานโครงสร้าง /ครูพี่เลี้ยงดูแลสุขภาพ เด็กวัยเรียน - สายตาผิดปกติ ๑๓ % รร.ตรวจคัดกรองและส่งต่อ รพ.: ตรวจวัดแก้ไขให้แว่นตา - ๑๕ ปีขึ้นไปนน.เกินและอ้วน เขตเมือง ๑๓.๑ % เขตชนบท ๘.๒ % รร.: เพิ่มชม.พละศึกษา/ปรับพฤติกรรม ลดการโฆษณาเครื่องดื่มรสหวาน

21 ข้อเสนอเชิงนโยบาย “ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคทุกกลุ่มวัย เพื่อคนไทยสุขภาพดี”
กลุ่มเป้าหมาย ขนาดปัญหา ข้อเสนอเชิงนโยบาย วัยรุ่น - อัตราแม่วัยรุ่น ๑๓.๕ % รร.: สอนเพศศึกษาเด็กมัธยม - ร้อยละ ๘๐ ตั้งครรภ์ไม่ได้ตั้งใจ รณรงค์/เข้าถึงบริการถุงยางอนามัย เพิ่มการเข้าถึงบริการยุติการตั้งครรภ์ - รพ.มีคลินิคบริการปรึกษา ส่งต่อ - "ยุติตั้งครรภ์"อยู่ในสิทธิประโยชน์ - ขึ้นทะเบียนยาทำแท้งที่ WHOแนะนำ วัยทำงาน อัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ DM HT HD พัฒนาระบบการคัดกรอง รักษา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ผู้สูงอายุ สัดส่วนเพิ่มจาก ๗.๔ %ปี ๓๔ เป็น พัฒนากำลังคนผู้ดูแลผู้สูงอายุ ๑๐.๗ % ปี ๕๐ / ๒๐ % ปี ๖๘ และ๒๕ % ปี ๗๓ PCU มีบริการดูแลและฟื้นฟูสุขภาพ ดูแลสถานบริการ LTC ให้มีมาตรฐาน


ดาวน์โหลด ppt แผนบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการ กระทรวงสาธารณสุข พ. ศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google