งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Strategic Route Map (SRM) ประยุกต์จากแนวทางของ นายแพทย์อมร นนทสุต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Strategic Route Map (SRM) ประยุกต์จากแนวทางของ นายแพทย์อมร นนทสุต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Strategic Route Map (SRM) ประยุกต์จากแนวทางของ นายแพทย์อมร นนทสุต
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ Strategic Route Map (SRM) ประยุกต์จากแนวทางของ นายแพทย์อมร นนทสุต สมพร แวงแก้ว นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 1

2

3 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ คือ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ คือ เครื่องมือบริหารจัดการยุทธศาสตร์ ในแง่มุมต่างๆ รวมทั้ง การกำหนดเส้นทางสู่ความสำเร็จ เครื่องมือสื่อสาร ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และบุคลากรได้รับทราบ เพื่อจะได้ ปรับการทำงานของทุกฝ่ายไปในทิศทาง เดียวกัน

4 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ คือ
ระบบติดตามดูความสำเร็จ ของยุทธศาสตร์ ด้วยการวัดผลการปฏิบัติ เพื่อการตัดสินใจที่ถูกต้อง และช่วยให้องค์กรเรียนรู้ว่า ยุทธศาสตร์ใดใช้ได้หรือไม่

5 ทำไมจึงต้องสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ?
“ไม่แน่ใจในทิศทาง” ...รู้ว่าจะไปไหน แต่ไปไม่ถูก...หรือ ไปได้ทุกที่ แต่ไม่รู้ว่าจะไปไหน... (สิ้นเปลือง เสียเวลา) 5

6 ทำไมจึงต้องสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ?
คณะผู้บริหารวางยุทธศาสตร์การพัฒนา ...แต่มัก ขาดการเชื่อมโยงไปสู่การปฏิบัติ จึงไม่แน่ใจว่าแผนงาน โครงการของฝ่ายปฏิบัติ สอดคล้อง/ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์มากน้อยเพียงใด? คนวางแผนยุทธศาสตร์ก็วางไป คนเขียนแผน/โครงการ ก็เขียนไป คนปฏิบัติก็ปฏิบัติไป 6

7 ทำไมจึงต้องสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ?
เนื่องจากเกิด ช่องว่าง ระหว่าง “ยุทธศาสตร์” กับ “การปฏิบัติ” “ผลผลิต (Output)” กับ “กระบวนการ (Process)” “ รัฐ..ท้องถิ่น ” กับ “ ภาคประชาชน ” แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์จะช่วยเติมช่องว่างและเชื่อมร้อยเข้าด้วยกัน 7

8 ทำไมจึงต้องสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ?
เพื่อเป็นเครื่องมือบริหารในพื้นที่ โดยเน้นการสนับสนุนกันระหว่างหน่วยงาน ทั้งกำลังคน งบประมาณและการจัดการ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน **ทุกฝ่ายทราบว่าจะร่วมมือเรื่องอะไร กับใคร ได้เมื่อใด เพื่อมุ่งสู่ความเข้มแข็ง ยั่งยืนของประชาชน 8

9 วิสัยทัศน์การพัฒนาสุขภาพ
“ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเองครอบครัวชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความ ตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา” คำตอบอยู่ที่ "การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม" แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ที่ว่ามานี้จะนำไปสู่บทบาทของประชาชน

10 มุมมองในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
มุมมองประชาชน มุมมองภาคี มุมมองกระบวนการ มุมมองพื้นฐาน

11 มุมมองประชาชน การแสดงบทบาทของ คน /ครอบครัว แกนนำ ชุมชน

12 บทบาท:มุมมองประชาชน ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรม สุขภาพ การรับบริการ
ความร่วมมือ การมีส่วนร่วม ความสามัคคี ความเข้มแข็ง การพึ่งพาตนเอง การสื่อสาร ข้อมูล ภูมิปัญญา ประเพณี วัฒนธรรม

13 ความสามารถในการแสดงบทบาทของ
มุมมองภาคี ความสามารถในการแสดงบทบาทของ การแสดงบทบาทของ หน่วยงานของรัฐ หน่วยงานเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชมรม/อสม.

14 ความสามารถในการแสดงบทบาทของ
มุมมองภาคี ความสามารถในการแสดงบทบาทของ การแสดงบทบาท การกำหนดนโยบาย การสนับสนุนต่างๆ (งบ,วิชาการ) การให้ความร่วมมือ การจัดกิจกรรมบริการ ฯลฯ

15 การแสดงบทบาทขององค์กรเจ้าภาพ
มุมมองกระบวนการ การแสดงบทบาทขององค์กรเจ้าภาพ การบริหารจัดการ เกี่ยวกับ การประสานงาน การจัดระบบบริการ การสื่อสาร การสร้างพันธมิตร/การสนับสนุนภาคีเครือข่าย การติดตามและประเมินผล การจัดการความรู้/การสร้างนวัตกรรม

16 ความเข้มแข็งขององค์กรเจ้าภาพ
มุมมองพื้นฐาน ความเข้มแข็งขององค์กรเจ้าภาพ คน (บุคลากรแกนนำ /ความรู้ ทักษะ) ข้อมูล (ครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน) วัฒนธรรมองค์กร/บรรยากาศ ขององค์กร

17 1 2 3 4 5 6 7 ( 1 2 สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์และแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ
กระบวนการและขั้นตอนการสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (Strategic Route Map) 1 การวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ ( 2 1 กำหนดจุดหมายปลายทาง (1)สร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (2) ตรวจสอบกับยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 3 2 สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์และแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ 4 สร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) 5 4 อธิบายการดำเนินงาน (นวัตกรรม/ตัวชี้วัด) นิยามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด 6 สร้างแผนปฏิบัติการ(Mini-SLM) 7 เปิดงานและการติดตาม ความก้าวหน้า 17

18 ขั้นตอนการสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ในครั้งนี้ ทำ 5 ขั้นตอน
ขั้นตอนการสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ในครั้งนี้ ทำ 5 ขั้นตอน 1 การวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ ( 2 1 กำหนดจุดหมายปลายทาง 3 สร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์และแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ 4 สร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) และฉบับย่อ (Mini-SLM) 5 อธิบายการดำเนินงาน (นิยามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด) 18

19 ทุกกลุ่มมุมมอง ตั้งชื่อกลุ่ม และสร้างสัญลักษณ์ ของกลุ่ม เพื่อให้เกิดพลังของกลุ่ม เลือก ประธานกลุ่ม เลขา ผู้ช่วยเลขา โฆษก และผู้จับเวลา

20 ขอความร่วมมือ ระหว่างวิทยากร กับผู้เข้าประชุม

21 ความคาดหวังในอนาคต เป็นอย่างไร
การสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 1.วิเคราะห์และประเมิน สถานการณ์ (อดีต และปัจจุบัน) ความคาดหวังในอนาคต เป็นอย่างไร

22 เราอยู่ที่ไหน เป้าหมาย เด็กมีโภชนาการสมวัย

23 หลักการและกติกา ทุกความคิดมีค่า อย่าขีดฆ่าลบทิ้ง
ทุกความคิดเห็นต้องได้รับการบันทึกในแผนที่ คิดอย่างอิสระ เท่าเทียม ทั่วถึง จัดระบบความคิด (เป็นกลุ่ม/หมวดหมู่และเชื่อมโยง)

24 การสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
2.กำหนดจุดหมายปลายทาง เราจะไปไหน? “ ก่อนออกเดินทางต้องทราบจุดหมายปลายทาง ” 1.วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ เราอยู่ที่ไหน?

25 (Destination Statement)
กำหนดจุดหมายปลายทาง (Destination Statement) “ก่อนออกเดินทางต้องทราบจุดหมายปลายทาง”

26 การกำหนดจุดหมายปลายทาง
นำความคาดหวังในอนาคตมากำหนดเป็นจุดหมายปลายทาง เขียนด้วยภาษาที่คิดได้ในขณะนั้น ก่อน แล้วจึงพิจารณาปรับให้เป็นการเขียนแบบจุดหมายปลายทาง(เป็นผลที่เกิดขึ้น) พิจารณาให้เข้าเงื่อนไขของการเป็น จุดหมายปลายทาง

27 คุณลักษณะของจุดหมายปลายทาง
ไม่ใช่การแสดงวิสัยทัศน์หรือพันธะกิจ อธิบายภาพอนาคตที่คาดหวังอย่างชัดเจน แสดงสิ่งที่ดีกว่าเดิม กรอบเวลา 3- 5 ปี แสดงความเป็นไปได้ และขึ้นต้นข้อความด้วยคำว่า “ มี” เป็นความคิดใหม่ๆ ที่มีคุณค่าต่อองค์กร/ประชาชน/สังคม ประกอบด้วยผังจุดหมายปลายทางและคำอธิบาย มีประมาณ จุดหมายปลายทาง

28 - ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการกับภาคีเครือข่าย
ผังจุดหมายปลายทาง ด้านโภชนาการสมวัย ภายในปี พ.ศ – กำหนดวันที่ ……………………….. มุมมองประชาชน - ชุมชนมีการให้ความรู้ด้านอาหารและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เข้าถึงแหล่งเรียนรู้ - ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการกับภาคีเครือข่าย - ชุมชนมีระบบการเฝ้าระวังโภชนาการในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร เด็ก0 - 5 ปี และเด็กวัยเรียน - ชุมชนมีมาตรการทางสังคมในชุมชนในการควบคุมและป้องกันโภชนาการ มุมมองภาคี ครู : มีการประชาสัมพันธ์ และจัดทำเมนูอาหาร อสม. : ให้ความรู้และเผยแพร่ข่าวสารด้านอาหารและโภชนาการ กองทุน : มีกองทุนสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานด้านอาหารและโภชนาการ  ศพด. : มีการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ผู้นำ : มีผู้นำชุมชนให้ความรู้และเผยแพร่ข่าวสารด้านอาหารและโภชนาการ อปท. : มีนโยบายและสนับสนุนงบประมาณ มุมมองกระบวนการ - พัฒนาระบบข้อมูล - สร้างช่องทางในการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ - กำหนดผู้รับผิดชอบงานที่ชัดเจน - บูรณาการสื่อสารให้คลอบคลุมทั้ง 3 กลุ่มวัย มีการติดตามประเมินผลอย่างสม่ำเสมออย่างต่อเนื่อง พัฒนาระบบการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ มุมมองพื้นฐาน - มีการจัดกิจกรรมยกย่องให้กับผู้รับผิดชอบงานดีเด่นอย่างต่อเนื่อง - สร้างเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้รับผิดชอบงานโภชนาการ - กำหนดตัวชี้วัดประเมินผลงานของบุคลากร ส่งเสริมให้มีการประกวดผลงานใน 3 กลุ่มวัย บุคลากรมีความรู้และทักษะในการประเมินพัฒนาการเด็ก ที่มีประสิทธิภาพ

29 การสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ Strategic Route Map : SRM
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

30 ยุทธศาสตร์ วิธีการสำคัญและดีที่สุด ที่ทำให้ไปถึง
จุดหมายปลายทางที่กำหนดไว้ หรือวิธีการที่จะทำให้งานสำเร็จ ความเปลี่ยนแปลงที่เราอยากเห็นอยากให้เป็นนั้น คือ เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์

31 การกำหนด เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์
* นำข้อความของจุดหมายปลายทางมา ปรับเป็นเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ได้ * ใช้คำขยายต่อท้ายข้อความของเป้าประสงค์ฯ เช่น “ที่ดี” “ที่มีประสิทธิภาพ” “อย่างต่อเนื่อง” “ครอบคลุม” “ที่เข้าถึง” “ เหมาะสม ” “ เข้มแข็ง” เป็นต้น

32 ตัวอย่างการปรับจุดหมายปลายทาง เป็น เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์
* ผู้เลี้ยงดูเด็ก/ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการเลี้ยงดูเด็ก * ชุมชนมีการส่งเสริมอาหารไอโอดีนให้แก่หญิงตั้งครรภ์ * มีการจัดการด้านอาหารและโภชนาการให้กับเด็ก 0-5 ปีโดยครอบครัวและ ชุมชน *เด็ก 0-5 ปีทุกคนมีพฤติกรรมบริโภคที่ถูกต้อง เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ * การพัฒนาศักยภาพการเลี้ยงดูเด็กแก่ผู้ปกครองด้านอาหารและโภชนาการ * ชุมชนส่งเสริมอาหารไอโอดีน ให้กับหญิงตั้งครรภ์อย่างต่อเนื่อง *การจัดการด้านอาหารและโภชนาการให้กับเด็ก 0-5 ปีโดยครอบครัวและ ชุมชนมีประสิทธิภาพ *เด็ก 0-5 ปีมีพฤติกรรมบริโภคที่ถูกต้องครอบคลุมทุกคน 32

33 ตัวอย่าง: เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์
* ชุมชนมีกิจกรรมสร้างสุขภาพอย่างต่อเนื่อง * ชุมชนมีระบบเฝ้าระวังภาวะโภชนาการที่มีประสิทธิภาพ * ประชาชนเข้าถึงข่าวสารเป็นอย่างดี * หน่วยงานภาครัฐสนับสนุน การดำเนินงานอย่างเข้มแข็ง * อบต.สนับสนุนงบประมาณทุกปี * เครือข่ายสุขภาพมีการบูรณาการสร้างสุขภาพที่ดี * ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ * การพัฒนาระบบบริการที่มีคุณภาพ

34 จะทำอย่างไร ให้บรรลุเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์
วิธีการใหญ่ ๆ หรือแนวทางหลัก ที่จะทำนั้น ก็คือ กลยุทธ์

35 กลยุทธ์ หรือกลยุทธ์ คือ การบอกว่า “ จะทำอย่างไร”

36 คำที่ใช้กำหนดกลยุทธ์
มีคำต่อไปนี้นำหน้า :- * พัฒนา, เพิ่ม, ขยาย * ส่งเสริม, สนับสนุน * สร้าง, สร้างเสริม * เร่งรัด, กำหนด * ลด, ปรับปรุง * บูรณาการ, ผสมผสาน ฯลฯ

37 ตัวอย่าง ข้อความกลยุทธ์
พัฒนาระบบเฝ้าระวังในชุมชน ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สรรหาแหล่งทุนในชุมชน สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับเครือข่าย ผลักดันการใช้ข้อบัญญัติของท้องถิ่น บูรณาการงานสร้างสุขภาพ พัฒนาศักยภาพของเครือข่าย จัดเวทีสานเสวนาด้านสุขภาพ ปรับกระบวนทัศน์การทำงาน

38 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM)งานส่งเสริมสุขภาพและงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 พ.ศ (ณ วันที่ 22 ก.ย. 2553) ประชาชนมีการสร้างเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย พัฒนาจัดทำแผนงาน / โครงการ สร้างแกนนำ/ต้นแบบด้านสุขภาพ -ส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น/นวัตกรรมด้านสุขภาพในชุมชน ชุมชนมีการเฝ้าระวังสภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง สร้างระบบเฝ้าระวังของชุมชน พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารของชุมชน สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังโดยชุมชน พัฒนาระบบการสื่อสารของชุมชน ชุมชนมีการพัฒนาเมืองน่าอยู่ด้านสุขภาพอย่างต่อเนื่อง สร้างการมีส่วนร่วมในการดำเนินการเมืองน่าอยู่ในชุมชน กำหนดมาตรการทางสังคม จัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน ชุมชนมีการจัดการสุขภาพอย่างต่อเนื่อง - กำหนดนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพโดยชุมชน พัฒนาศักยภาพกลุ่ม/องค์กรในชุมชน เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ชุมชนมีการพัฒนาชมรมสร้างสุขภาพให้เข้มแข็ง -สร้างความเข้มแข็งของแกนนำชมรมโดยชุมชน สรรหาแหล่งทุน ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชมรม สร้างกระแสส่งเสริมสุขภาพในชุมชน มุมมองประชาชน (Evaluation) อปท.ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ พัฒนาการจัดทำแผนงาน / โครงการสร้างสุขภาพ -ผลักดันการใช้ข้อบัญญัติท้องถิ่น -สร้างระบบดูแล สวล. ที่เอื้อต่อสุขภาพ -พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการส่งเสริมสุขภาพ หน่วยงานสาธารณสุขขับเคลื่อนการส่งเสริมสุขภาพ -สนับสนุนการสร้างนวัตกรรม/องค์ความรู้ -เร่งรัดการบริการตามมาตรฐาน -เพิ่มขีดความสามารถบุคลากร -ส่งเสริมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -ถ่ายทอดองค์ความรู้และ นวัตกรรม ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมสร้างสุขภาพ -บูรณาการงานสร้างสุขภาพ -สร้างความเข้าใจด้านการส่งเสริมสุขภาพ แก่ภาคีเครือข่าย -ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมด้านสุขภาพ สื่อมวลชนมีส่วนร่วมสร้างสุขภาพ -สนับสนุนการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ -สร้างกระแสการสร้างเสริมสุขภาพ -สนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -สร้างเครือข่ายสื่อมวลชนด้านสุขภาพ -สนับสนุนเครือข่ายสื่อมวลชนให้เป็นต้นแบบด้านสุขภาพ หน่วยงานวิชาการทั้งภาครัฐ/เอกชนมีส่วนร่วมสร้างสุขภาพ สนับสนุนด้านวิชาการ สนับสนุนงบประมาณ เสริมสร้างความสัมพันธ์ของเครือข่าย -ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการ มุมมองภาคี (Stakeholder) การประสานงานที่มีประสิทธิภาพ -พัฒนาระบบการสื่อสาร -สร้าง/พัฒนาเครือข่าย -สร้างความสัมพันธ์ -ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบสนับสนุนภาคีเครือข่ายที่ดี -พัฒนาระบบนิเทศงาน -พัฒนาระบบรับรองมาตรฐาน -สนับสนุนวิชาการ/กฎหมาย -พัฒนาระบบการสื่อสารภายนอก การติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง -พัฒนาระบบติดตามประเมินผล -พัฒนาศักยภาพบุคลากร -พัฒนาเทคโนโลยีการติดตามประเมินผล กระบวนการจัดการความรู้/นวัตกรรมมีความต่อเนื่อง -พัฒนาระบบการจัดการความรู้ -พัฒนาศูนย์การเรียนรู้ -สนับสนุนการสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง -สร้างคลังนวัตกรรมด้านสุขภาพ -ส่งเสริมการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีการส่งเสริมสุขภาพไปใช้ประโยชน์ ระบบการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี -พัฒนาระบบการเรียนรู้ความต้องการและรับฟังความคิดเห็น -สร้างระบบการตอบสนองความต้องการ/ความคาดหวังของลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย -สร้างระบบการวัดความพึงพอใจ มุมมองกระบวนการ (Management) ระบบข้อมูลที่ได้มาตรฐาน -พัฒนาการเข้าถึงข้อมูล -สร้างระบบการเชื่อมโยงข้อมูลให้ครอบคลุม -พัฒนาการบริหารจัดการข้อมูล -พัฒนาฐานข้อมูลให้มีคุณภาพ การทำงานเป็นทีมทั้งภายใน/ภายนอกหน่วยงานที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาทักษะการทำงานเป็นทีม ปรับกระบวนทัศน์การทำงาน สร้างแรงจูงใจ สร้างความสัมพันธ์ของทีมงาน การพัฒนาทักษะบุคลากรให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ/ที่ปรึกษา พัฒนาศักยภาพบุคลากร สร้างเครือข่ายทั้งภายใน/ภายนอกองค์กร สร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างบุคลากรเชียวชาญเฉพาะด้าน การพัฒนาบุคคลต้นแบบสุขภาพ พัฒนาความรู้และทักษะด้านสุขภาพ ส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพ สร้างแรงจูงใจ ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วัฒนธรรมองค์กรที่เอื้อต่อสุขภาพและความผาสุกของคนในองค์กร -ส่งเสริมการปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์กร กำหนดมาตรการสร้างสุขภาพโดยการมีส่วนร่วม สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อสุขภาพและความผาสุก สร้างแรงจูงใจและขวัญกำลังใจ มุมมองพื้นฐาน (Learning /Development)

39 การตรวจสอบความเชื่อมโยง ระหว่างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กับยุทธศาสตร์

40 การตรวจสอบความเชื่อมโยงระหว่าง แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กับยุทธศาสตร์การพัฒนา
นำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ที่จัดทำขึ้น มาพิจารณาและตรวจสอบว่าเป้าประสงค์ทั้งหมดในแต่ละระดับตอบสนองต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาใดบ้าง?

41 ยุทธศาสตร์กระบวนการทั้ง 5 ในงานสร้างสุขภาพ
1.เสริมสร้างพลังใจ 2.ปรับบทบาทบุคลากร /แกนนำ 5.สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างองค์กร ยุทธศาสตร์ 4.สร้างระบบสนับสนุนที่ดี 3.ปรับบทบาทคนในสังคม

42 การสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM)

43 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM)การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จ
ชุมชนมีการให้ความรู้ด้านอาหารและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม/เข้าถึงการเรียนรู้ที่ครอบคลุมและอย่างต่อเนื่อง พัฒนาความรู้ทักษะ(ผู้ปกครอง,พ่อแม่,แม่ครัว,แม่ค้า) -ส่งเสริมและปรับพฤติกรรมการประกอบอาหารที่ถูกต้อง จัดเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ด้านโภชนาการ ชุมชนมีระบบเฝ้าระวังโภชนาการในกลุ่มกลุ่มเป้าหมายที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้พ่อแม่ผู้ปกครองมีและใช้คู่มือแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และเด็ก 0-5 ปี สร้างระบบข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในชุมชน สนับสนุนให้มีการคืนข้อมูลข่าวสารสุขภาพด้ารโภชนาการผ่านสื่อชุมชน ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาภาว่ะงโภชนาการต่อภาคีเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง -ส่งเสริมให้ชุมชนบูรณกาแก้ไขปัญหาโภชนาการร่วมกับภาคีเครือข่าย -สนับสนุนให้ชุมชนจัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาโภชนาการ -ขยายชุมชนต้นแบบโภชนาการสมวัย ชุมชนมีมาตรการในการควบคุมและป้องกันทางโภชนาการอย่างเข้มแข็ง -สนับสนุนร้านค้า/ผู้ประกอบการการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้านโภชนาการ -กำหนดข้อตกลงร่วมกันในชุมชนเรื่องอาหารปลอดภัย มุมมองประชาชน (Evaluation) ผู้นำชุมชน(กำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน)ส่งเสริมการจัดกิจกรรมสุขภาพเด็กปฐมวัยใน ศพด. อย่างต่อเนื่อง สรรหางบประมาณอาหารกลางวัน ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัยและสวยงาม บูรณาการจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็กในชุมชน อปท.มีนโยบายและสนับสนุนงบประมาณในการจัดกิจกรรมสุขภาพเด็กปฐมวัยและวัยเรียนอย่างต่อเนื่อง สนับสนุนงบประมาณการจัดกิจกรรมสุขภาพ ปรับปรุงสนามเด็กเล่นและสภาพแวดล้อมของ ศพด. พัฒนาบุคลากรของ อปท. ให้มีความรู้เกี่ยวสุขภาพ อสม.ให้คำแนะนำแก่มารดาและเฝ้าระวังการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง พัฒนาความรู้และทักษะของ อสม. พัฒนาการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก เพิ่มทักษะการสื่อสารและการเยี่ยมบ้านแก่ อสม. โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพนักเรียนอย่างต่อเนื่อง สนับสนุนการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักเรียน พัฒนาการจัดกิจกรรม ส่งเสริมส่งเสริมสุขภาพนักเรียน บูรณการความรู้ด้านสุขภาพในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ศพด.จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียนอย่างต่อเนื่อง บูรณาการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย จัดประกวดเด็กมีพัฒนาการสมวัยและโภชนาการสมวัย ปรับพฤติกรรมการกินอาหารของเด็ก มุมมองภาคี (Stakeholder) มีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบข้อมูล สร้างช่องทางในการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ กำหนดผู้รับผิดชอบงานที่ชัดเจน บูรณาการสื่อสารให้ครอบคลุมทั้ง 3 กลุ่มวัย มีการติดตามประเมินผลอย่างสม่ำเสมออย่างต่อเนื่อง กำหนดแผนการติดตามอย่างชัดเจน พัฒนาระบบการเฝ้าระวังโภชนาการและพัฒนาการ ส่งเสริมให้มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการจัดเวทีการนำเสนอผลการดำเนินงาน ส่งเสริมให้มีการสร้างผลงานนวัตกรรมในพื้นที่ สนับสนุนให้มีการทำวิจัย ส่งเสริมให้มีการนำผลงานเผยแพร่ให้กับภาคีเครือข่าย จัดเวทีนำเสนอผลงานงานวิจัยนวัตกรรม มีวัสดุและงบประมาณที่เพียงพอ จัดหาอุปกรณ์ที่มีคุณภาพ ซ่อมแซมอุปกรณ์ให้มีคุณภาพ กำหนดงบประมาณในแผนงาน/โครงการ มุมมองกระบวนการ (Management) มีการจัดกิจกรรมยกย่องให้กับผู้รับผิดชอบงานดีเด่นอย่างต่อเนื่อง -สร้างเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้รับผิดชอบงานโภชนาการ -กำหนดตัวชี้วัดประเมินผลงานของบุคลากร -ส่งเสริมให้มีการประกวดผลงานใน 3 กลุ่มวัย บุคลากรมีความรู้และทักษะในการประเมินพัฒนาการเด็กที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้มีการฟื้นฟูความรู้และทักษะ สร้างองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ พัฒนาความรู้และทักษะให้กับผู้รับผิดชอบงาน มีการคืนข้อมูลแก่ภาคีเครือข่ายอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ปรับปรุงฐานข้อมูล พัฒนาบุคลากร (ด้านสารสนเทศ) มีข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วนและเป็นปัจจุบันที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาเครื่องมือและวิธีการในการจัดเก็บข้อมูล เร่งรัดปรับปรุงให้ถูกต้อง ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการใช้ข้อมูลในการแก้ไขปัญหา มุมมองพื้นฐาน (Learning /Development)

44 การสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
พิจารณาเลือกเป้าประสงค์พร้อม กลยุทธ์ของแต่ละเป้าประสงค์ ในแต่ละมุมมองว่า อะไรที่มีความสำคัญมาก จะต้องปฏิบัติ ภายใน 1 ปี เพื่อให้บรรลุจุดหมายปลายทางที่กำหนดไว้

45 การสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
นำเป้าประสงค์ที่เลือกแล้วมาวางตามมุมมองทั้ง 4 มุมมอง คือ มุมมองประชาชน มุมมองภาคี มุมมองกระบวนการ และ มุมมองพื้นฐาน

46 การสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
เขียนลูกศรที่แสดงความเชื่อมโยงสัมพันธ์กัน เชิงเหตุและผล โดยบางกล่องเป้าประสงค์อาจเป็นเหตุที่จะส่งผลถึงกันในมุมมองระดับเดียวกันและมุมมองระดับถัดขึ้นไปได้ ทั้งนี้ต้องให้ตัดสินใจให้น้ำหนักว่า กล่องใดเป็นเหตุ กล่องใดเป็นผลอย่างชัดเจน

47 การสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
ตรวจสอบและทบทวน/สรุปภาพรวมของ SLM ที่กลุ่มร่วมกันจัดทำมาให้สมาชิกกลุ่มได้รับฟัง ทำความเข้าใจ เห็นภาพเดียวกัน เพื่อให้เกิดการยอมรับร่วมกันและมีมติความเห็นชอบใน SLMที่จัดทำขึ้น นำ SLM ที่ได้สร้างขึ้นมาเสนอผู้บริหารขององค์กร เพื่อให้ความเห็นชอบ อนุมัติก่อนดำเนินการใดๆต่อไป โดยผู้บริหารองค์กรมีอำนาจในการปรับ/เลือกเส้นทาง

48 วัยรุ่นมีพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม
ตัวอย่าง แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM)การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2553) วัยรุ่นมีพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม วัยรุ่นมีความเข้าใจในเรื่องปัญหาของเยาวชนและร่วมแก้ไขปัญหาเยาวชนอย่างต่อเนื่อง วัยรุ่นมีความรักและเห็นคุณค่าในตนเอง ซึ่งจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในเชิงสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม มุมมองประชาชน (Evaluation) พ่อแม่มีเวลาให้ความรักความเข้าใจ การให้คำปรึกษาแก่วัยรุ่น(ลูก)อย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมบูรณาการเรื่องเพศศึกษาให้กับนักเรียนอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนมีการประสานงานกับผู้ปกครอง ผู้นำชุมชนอย่างมีระบบ มุมมองภาคี (Stakeholder) อปท.มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของวัยรุ่นอย่างต่อเนื่อง ระบบบริการอนามัยเจริญพันธุ์ที่มีคุณภาพ ปรับกระบวนทัศน์ของภาคีเครือข่ายอย่างมีคุณภาพ มุมมองกระบวนการ (Management) สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้เข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง ระบบข้อมูลข่าวสารที่ทันต่อเหตุการณ์และสามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทีมงานเพียงพอและมีประสิทธิภาพ มุมมองพื้นฐาน (Learning /Development) วัฒนธรรมการทำงานร่วมกับชุมชน/ภาคีเครือข่ายอย่างเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ

49 วัยรุ่นมีพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM)การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จังหวัดหนองบัวลำภู พ.ศ (ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2553) วัยรุ่นมีพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม วัยรุ่นมีความเข้าใจในเรื่องปัญหาของเยาวชนและร่วมแก้ไขปัญหาเยาวชนอย่างต่อเนื่อง วัยรุ่นมีความรักและเห็นคุณค่าในตนเอง ซึ่งจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในเชิงสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม มุมมองประชาชน (Evaluation) พ่อแม่มีเวลาให้ความรักความเข้าใจ การให้คำปรึกษาแก่วัยรุ่น(ลูก)อย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมบูรณาการเรื่องเพศศึกษาให้กับนักเรียนอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนมีการประสานงานกับผู้ปกครอง ผู้นำชุมชนอย่างมีระบบ มุมมองภาคี (Stakeholder) อปท.มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของวัยรุ่นอย่างต่อเนื่อง ระบบบริการอนามัยเจริญพันธุ์ที่มีคุณภาพ ปรับกระบวนทัศน์ของภาคีเครือข่ายอย่างมีคุณภาพ มุมมองกระบวนการ (Management) สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้เข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง ระบบข้อมูลข่าวสารที่ทันต่อเหตุการณ์และสามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทีมงานเพียงพอและมีประสิทธิภาพ มุมมองพื้นฐาน (Learning /Development) วัฒนธรรมการทำงานร่วมกับชุมชน/ภาคีเครือข่ายอย่างเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ

50 การสร้าง แผนปฏิบัติการ (Mini SLM)

51 ภายในปี พ.ศ. 2554 (ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2553)
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM)การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จังหวัดหนองบัวลำภู ภายในปี พ.ศ (ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2553) วัยรุ่นมีพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม มุมมองประชาชน (Evaluation) วัยรุ่นมีความเข้าใจในเรื่องปัญหาของเยาวชนและร่วมแก้ไขปัญหาเยาวชนอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนมีการประสานงานกับผู้ปกครอง ผู้นำชุมชนอย่างมีระบบ อปท.มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของวัยรุ่นอย่างต่อเนื่อง มุมมองภาคี (Stakeholder) ระบบบริการอนามัยเจริญพันธุ์ที่มีคุณภาพ ปรับกระบวนทัศน์ของภาคีเครือข่ายอย่างมีคุณภาพ มุมมองกระบวนการ (Management) ระบบข้อมูลข่าวสารที่ทันต่อเหตุการณ์และสามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทีมงานเพียงพอและมีประสิทธิภาพ มุมมองพื้นฐาน (Learning /Development)

52 หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
แผนปฏิบัติการ การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม พ.ศ. 2554 ต.หนองไผ่ และ ต.ค้อใหญ่ อ.หนองหาน จ. อุดรธานี (กำหนดวันที่ 19 ตุลาคม 2553) หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม หญิงตั้งครรภ์มีการปฏิบัติตนที่เหมาะสม วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม มุมมองประชาชน (Evaluation) อสม.ประชาสัมพันธ์และร่วมกิจกรรมกับทุกภาคส่วนอย่างต่อเนื่อง จิตอาสาโรงเรียนตรวจเยี่ยมสุขภาพแม่และเด็กอย่างมีประสิทธิภาพ มุมมองภาคี (Stakeholder) อปท.มีนโยบายสนับสนุนงบประมาณการพัฒนาสุขภาพแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง มุมมองกระบวนการ (Management) ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ มุมมองพื้นฐาน (Learning /Development) พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ

53 คำอธิบายตารางนิยามเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติการ
(Mini SLM) โดยการใช้ตาราง 11 ช่อง

54 เป้าประสงค์ ของยุทธศาสตร์ มาตรการ(การกระทำหรืองานที่ทำ)
คำอธิบาย ตารางนิยามเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติการ ( Mini SLM) เรื่อง ภายในปี เป้าประสงค์ ของยุทธศาสตร์ (1) กลยุทธ์ (2) กิจกรรม (3) มาตรการ(การกระทำหรืองานที่ทำ) ตัวชี้วัดผลงาน (PI) (6) ปริมาณงาน (7) ตัวชี้วัดผลสำ เร็จ (KPI) (8) งบ ประมาณ (9) ระยะ เวลาดำเนิน การ (10) ผู้รับ ผิดชอบ (11) วิชาการ (4) สังคม (5) นำมาจากเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ ใน Mini SLM ที่เลือกแล้ว จากกลยุทธ์ที่พิจารณาว่าสำคัญที่สุด แรงที่สุด คาดว่ามีหัวใจความสำ เร็จอยู่ภายใต้กลยุทธ์นั้น ๆ และเป็นกลยุทธ์ที่ต้องทำให้สำเร็จได้ ตามเวลาที่กำหนด ระบุกิจกรรมหลักที่สำคัญ ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับกลยุทธ์ที่เลือก (ต้องคิดใหม่ในส่วนนี้) การกระทำทางวิชาการ กรณีที่คิดกิจกรรมไม่ออก แต่คิดงาน/กิจกรรมย่อย/ขั้นตอนการทำงานออกมาได้ (เพราะเป็นสิ่งที่คุ้นเคยของคนทำงาน) ให้เอางาน/กิจกรรมย่อยนั้นไปเติมในช่องที่ 4 ก่อน แล้วจึงมาจัดกลุ่มของงานให้เป็นกิจกรรม(ช่องที่ 3) ในภายหลังก็ได้ - เป็นวิธีการที่เกิดขึ้นท้องถิ่น/ชุมชน หรือ วิธีการที่คิดขึ้นมาในเงื่อน ไขทางสังคม ถ้ามีแล้วจะเสริมพลังทางวิชา การให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น หรือส่งผลไปสู่การปฏิบัติได้มากขึ้น ตัวชี้วัดผลงาน = PI (Perfor mance Indicator) มีจำนวนเท่ากับ งาน/การกระทำ/กิจกรรมย่อย ในช่องที่ 4 เป็นผลที่เกิดขึ้นโดยตรงจากช่อง 4 ควรกำหนดเฉพาะที่ใช้งบประมาณ คน หรือวัสดุ/อุปกรณ์ก็ได้ ระบุจำนวนของงาน/กิจกรรมย่อย ให้สอด คล้องกับช่องที่ 4 ตัวชี้วัดผลสำเร็จ/ตัวชี้วัดผลสำเร็จ = KPI ( Key Perfor mance Indicator) โดยหนึ่งเป้า ประสงค์ฯ มีหนึ่งหัวใจ มีหนึ่ง KPI ระบุจำนวนงบประ มาณที่คาดว่าจะต้องใช้ (ระบุแหล่งงบประ มาณด้วย ) ให้สอด คล้องกับงาน/กิจกรรมย่อยในช่องที่ 4 ระบุระยะ เวลาการทำงาน ของช่อง ที่ 4 ในแต่ละงาน/กิจกรรมย่อย ระบุชื่อ นาม สกุล ของผู้รับผิดชอบ ในแต่ละงาน/กิจ กรรมย่อย ของช่อง ที่ 4 54

55 * แต่ละกลุ่มร่วมกันอธิบายว่า เป้าประสงค์นี้ จะทำให้บรรลุได้อย่างไร โดยเลือกกลยุทธ์ ระบุกิจกรรมสำคัญและมีขั้นตอนอย่างไร เพื่อสร้าง เครื่องชี้วัด โดยใช้ตารางการนิยามเป้าประสงค์ (ตาราง 11 ช่อง)

56 การอธิบายเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ โดยใช้ตาราง 11 ช่อง
ช่องที่ 1 : นำมาจากเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ ใน Mini SLM ที่เลือกแล้ว ช่องที่ 2 : กลยุทธ์ เริ่มจากกลยุทธ์ที่พิจารณาว่าสำคัญที่สุด แรงที่สุด คาดว่ามีหัวใจความสำเร็จอยู่ภายใต้กลยุทธ์นั้น ๆ และเป็นกลยุทธ์ที่ต้องทำให้สำเร็จได้ ตามเวลาที่กำหนด เลือกจำนวน....กลยุทธ์

57 การอธิบายเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ โดยใช้ตาราง 11 ช่อง
หลังจากอธิบายกลยุทธ์ที่เลือกมานั้น ว่าจะต้องใช้กิจกรรม งาน/การกระทำต่าง ๆ ไปแล้ว พบว่า หาหัวใจความสำเร็จไม่เจอ ให้เลือกกลยุทธ์อื่น มาอธิบายต่อจนกว่าจะพบหัวใจความสำเร็จ ในกรณีที่พบหัวใจความสำเร็จจากการใช้กลยุทธ์หนึ่ง ๆแล้ว ให้ถือว่า นั่นคือกลยุทธ์สำคัญที่ ต้องทำ แต่อาจจะเลือกกลยุทธ์อื่นมาทำเพิ่มถ้าเห็นว่าจะทำให้งานเข้มแข็งขึ้น ถือว่า เป็นกลยุทธ์ที่ ควรทำ

58 การอธิบายเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ โดยใช้ตาราง 11 ช่อง
ช่อง 3 : กำหนดกิจกรรม ระบุกิจกรรมหลักที่สำคัญ ซึ่งจะต้อง สอดคล้องกับกลยุทธ์ที่เลือก (ต้องคิดใหม่ใน ส่วนนี้) ช่องที่ 4 : การกระทำทางวิชาการ กรณีที่คิดกิจกรรมไม่ออก แต่คิดงาน หรือกิจกรรมย่อย หรือ ขั้นตอนการทำงานออกมาได้ (เพราะเป็นสิ่งที่คุ้นเคยของคนทำงาน) ให้เอางาน หรือ กิจกรรมย่อยนั้นไปเติมใน ช่องที่ 4 ก่อน แล้วจึงมาจัดกลุ่มของงานให้เป็นกิจกรรม (ช่องที่ 3) ในภายหลังก็ได้

59 การอธิบายเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ โดยใช้ตาราง 11 ช่อง
กลุ่มของงานที่รวมกันเป็นกิจกรรม อาจคิดกิจกรรมจากการเทียบเคียงกับ โครงการที่เราจะทำเพื่อของบประมาณ ในการทำงานต่าง ๆ ภายใต้กิจกรรมนั้น ๆ โครงการที่คิดในช่องกิจกรรม (ช่อง 3) นี้ เป็นโครงการที่คิดภายใต้กลยุทธ์หนึ่ง ๆ ในช่องที่ 2 (รวมหลายงาน) มีขนาดที่เล็กกว่ากลยุทธ์ จึงมีจำนวนโครงการเท่ากับ จำนวนกลยุทธ์ แต่จะต้องไม่น้อยกว่าจำนวนกลยุทธ์

60 การอธิบายเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ โดยใช้ตาราง 11 ช่อง
การเขียนโครงการจากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ อาจเขียนได้จากหลายจุด - เขียนจากระดับกิจกรรม เป็นโครงการขนาดเล็ก เหมาะกับการของบประมาณที่จำกัด อาจไประดมจากหลาย ๆ ส่วน แต่ควรระวังการตอบสนองเป้าประสงค์และมุมมอง อาจจะไม่ครบถ้วน หรือไม่เชื่อมโยงกัน - เขียนจากระดับเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (โครงการละกล่อง) จะทำให้เห็นการตอบสนองตามเป้าประสงค์ได้ชัดเจน แต่อาจจะใช้งบประมาณมากขึ้นต่อโครงการ

61 การอธิบายเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ โดยใช้ตาราง 11 ช่อง
ช่องที่ 5 : งาน หรือ การกระทำ หรือ มาตรการทางสังคม - เป็นวิธีการที่เกิดขึ้นท้องถิ่น หรือ ชุมชน หรือ วิธีการที่คิดขึ้นมาในเงื่อนไขทางสังคม ถ้ามีแล้วจะเสริมพลังงานทางวิชาการให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น หรือส่งผลไปสู่การปฏิบัติได้มากขึ้น อย่างไรก็ตาม การคิดช่อง 5 นี้ ถ้าคิดเฉพาะทีม จนท. เป็นการเสนอเท่านั้น จะทำ หรือไม่ทำขึ้นอยู่กับชุมชน หรือ ท้องถิ่น ถ้ามีทีมจากชุมชน ( อสม.) มาร่วมก็สามารถระบุช่องนี้ได้

62 การอธิบายเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ โดยใช้ตาราง 11 ช่อง
ช่องที่ 6 : ตัวชี้วัดผลงาน = PI ( Performance Indicator ) - มีจำนวนเท่ากับ งาน หรือ การกระทำหรือ กิจกรรมย่อย ในช่องที่ 4 เป็นผลที่เกิดขึ้นโดยตรงจากช่อง 4 หรือจะกำหนดเฉพาะที่ใช้งบประมาณ คน หรือวัสดุ/อุปกรณ์ ก็ได้ แต่จะมีจำนวนน้อยกว่า ช่องที่ 4

63 การอธิบายเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ โดยใช้ตาราง 11 ช่อง
ช่องที่ 7 : ปริมาณ ระบุจำนวนของงาน/กิจกรรมย่อย ให้สอดคล้องกับช่องที่ 4 ช่องที่ 8: ตัวชี้วัดผลสำเร็จ/ตัวชี้วัดผลสำเร็จ = KPI ( Key Performance Indicator ) หนึ่งเป้าประสงค์ฯ มีหนึ่งหัวใจ มีหนึ่ง KPI

64 การอธิบายเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ โดยใช้ตาราง 11 ช่อง
ช่องที่ 9 : ระยะเวลาของการทำงาน เป็นการระบุระยะเวลาการทำงาน ของช่องที่ 4 ในแต่ละงาน หรือ กิจกรรมย่อย ช่องที่ 10 : งบประมาณ ระบุจำนวนงบประมาณที่คาดว่าจะต้องใช้ ( ระบุแหล่งงบประมาณด้วย ) ให้สอดคล้องกับงาน หรือ กิจกรรมย่อย ในช่องที่ 4

65 การอธิบายเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ โดยใช้ตาราง 11 ช่อง
ช่องที่ 11 : ผู้รับผิดชอบ ระบุชื่อ นามสกุล ของ ผู้รับผิดชอบ ในแต่ละงาน/กิจกรรมย่อย ของช่องที่ 4


ดาวน์โหลด ppt Strategic Route Map (SRM) ประยุกต์จากแนวทางของ นายแพทย์อมร นนทสุต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google