งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Measles Elimination Bureau of Epidemiology, DDC

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Measles Elimination Bureau of Epidemiology, DDC"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Measles Elimination Bureau of Epidemiology, DDC
Bureau of General Communicable Diseases, DDC National Institute of Health, DMSc Bureau of Practical Development, DMS

2 โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ
เป้าหมาย ลดอุบัติการณ์ของโรคหัดในประเทศไทยให้ เหลือไม่เกิน  5 รายต่อประชากรหนึ่งล้านคนในปี  1 รายต่อประชากรหนึ่งล้านในปี 2563

3 Measles elimination: WHO definition
การไม่พบผู้ป่วยโรคหัดที่ติดเชื้อ ภายในประเทศ (Endemic measles case) ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน 12 เดือนขึ้นไป ภายใต้ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ

4 ความสำคัญของการเฝ้าระวังโรคหัด
เป็นเครื่องมือหนึ่งเพื่อนำไปสู่กำจัดโรคหัด ติดตามสถานการณ์โรค บ่งชี้ประชากรกลุ่มเสี่ยง ตรวจจับการระบาดและควบคุมโรคอย่างรวดเร็ว

5 ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ
มีรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดไม่น้อยกว่า 2 ต่อประชากร แสนคน ระดับประเทศ มีการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายภายใน 48 ชั่วโมง ไม่ น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยที่รายงาน มีการตรวจ measles IgM ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของ ผู้ป่วยเฉพาะราย มีการส่งตรวจ วิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัสไม่น้อยกว่าร้อย ละ 80 ของเหตุการณ์การระบาด

6 ระบบเฝ้าระวังโรคหัดของประเทศไทยในปัจจุบัน
ระบบปกติ (รายงาน 506) โครงการกำจัดโรคหัด นิยามผู้ป่วยสงสัย ที่ต้องรายงาน ไข้สูง ไอ ผื่น + corynza / Conjuntivitis / Koplik’s spot หรือ แพทย์วินิจฉัย ไข้สูง ไอ ผื่น + corynza / conjuntivitis / Koplik’s spot หรือ แพทย์วินิจฉัย การรายงานผู้ป่วยทันที Severe, admitted, death อายุน้อยกว่า 9 เดือน ทุกรายที่มา ร.พ. การสอบสวนโรคและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ - Severe, Death, อายุน้อยกว่า 9 เดือน, cluster, รายแรก สอบสวนเฉพาะรายทุกรายที่มา รพ. (Measles IgM ทุกราย) สอบสวนเหตุการณ์การระบาด (Measles IgM 10 – 20 ราย + 5 Throat swab) ฐานข้อมูล R506: ข้อมูลทั่วไป, วันเริ่มป่วย, วันรับรักษา, ผลการรักษา ME เพิ่มตัวแปรประวัติวัคซีน, ประวัติสัมผัสโรค, ผล lab การรายงานและสอบสวนผู้ป่วยให้ได้ตามโครงการกำจัดโรคหัด ต้องไม่รอรายงานจาก ICD10!!!

7 นิยามผู้ป่วย 1. เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria)
มีไข้ > 38 ํC และมีผื่นนูนแดงขึ้นขณะยังมีไข้ พร้อมทั้งมีอาการไอ (Cough) ร่วมกับอาการอื่นๆ อีกอย่างน้อยหนึ่งอาการ ดังต่อไปนี้ มีน้ำมูก (Coryza) เยื่อบุตาแดง (Conjunctivitis) ตรวจพบ Koplik's spot 1-2 วันก่อนและหลังผื่นขึ้น

8 นิยามผู้ป่วย 2. เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Criteria)
2.1. Serology test - Measles IgM ให้ผลบวก 2.2. Viral isolation - เพาะเชื้อจากสารคัดหลั่งทางเดินหายใจ โดย Throat swab culture หรือ Nasal swab culture

9 ประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยสงสัย (Suspected case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทาง คลินิก หรือ แพทย์วินิจฉัยโรคหัด ผู้ป่วยเข้าข่าย (Probable case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ ทางคลินิก ร่วมกับมีข้อมูลทางระบาดวิทยาเชื่อมโยงกับผู้ป่วยยืนยัน ผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ ทางคลินิก และ มีผลบวกทางห้องปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง

10 นิยามผู้สัมผัสใกล้ชิด
ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ร่วมงาน หรือ ร่วมห้องเรียน ที่ต้องอยู่ในห้อง เดียวกันเป็นประจำ ผู้ที่มีประวัติคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วย ในระยะ 7 วันก่อนวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย เช่น แฟน เพื่อน สนิท

11 การรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง เพื่อการกำจัดโรคหัด
ให้รายงานตั้งแต่ผู้ป่วยสงสัย พร้อมทั้งเก็บ สิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ในผู้ป่วยสงสัยทุกรายที่มาโรงพยาบาล

12 ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายที่มา รพ. (1)

13 ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายที่มา รพ. (2)

14 การสอบสวนโรค เพื่อยืนยันเชื้อก่อโรคและสายพันธุ์
การสอบสวนเหตุการณ์การระบาด (outbreak investigation) กรณีที่เกิดโรคเป็นกลุ่มก้อน ให้รีบทำการสอบสวนการระบาดทันทีโดย - ใช้แบบสอบสวนโรคเฉพาะราย (ME1 form) หรือทะเบียนผู้ป่วยในการสอบสวนเหตุการณ์การระบาดของโรคหัด (ME2 form) - เก็บสิ่งส่งตรวจในผู้ป่วยสงสัย ได้แก่ Measles IgM ประมาณ 10 – 20 ตัวอย่าง ของผู้ป่วยสงสัยในเหตุการณ์ - สุ่มตัวอย่าง Throat / Nasal swab จำนวนไม่เกิน 5 ตัวอย่างเพื่อส่งตรวจ Genotype ของไวรัสโรคหัด ด้วยวิธี PCR เพื่อยืนยันเชื้อก่อโรคและสายพันธุ์ หาที่มาของการระบาดและควบคุมโรค

15 การสอบสวนโรคในพื้นที่
มีผู้ป่วยสงสัยโรคหัดเป็นกลุ่มก้อน เมื่อสอบสวนผู้ป่วย Index case แล้วพบว่าผู้สัมผัสใกล้ชิดมี อาการ ป่วยสงสัยโรคหัดร่วมด้วย ผู้ป่วย Index case มีผลการตรวจ Measles IgM ให้ผลบวก ผู้ป่วย Index case มาจากพื้นที่ที่ความครอบคลุมของวัคซีนต่ำ ได้แก่ - Measles หรือ MMR เข็มที่ 1 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กอายุ 1 ถึง 2 ปี (นับจากวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย index case) ในระดับตำบล - MMR เข็มที่ 2 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในโรงเรียน

16 ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนเหตุการณ์การระบาด (1)

17 ขั้นตอนการรายงาน/สอบสวนเหตุการณ์การระบาด (2)

18 ฐานข้อมูล online โครงการกำจัดโรคหัด

19

20

21

22

23

24 Measles Situation, Thailand 2011 – May 2012
Bureau of Epidemiology Ministry of Public Health

25 Reported Measles, 2011 – May 2012 R506* Measles Elimination Number
% of R506 2011 3,018 617 20.4% 2012 (to May) 2,710 1,006 37.1%

26 ปัญหาการเฝ้าระวังโรคหัด
จังหวัดอุดรธานี 2556

27 สถานการณ์โรคหัด จ. อุดรธานี 251-2555
สถานการณ์โรคหัด จ. อุดรธานี ปี จำนวน ต่อแสน ปชก. 2551 135 9.0 2552 51 3.25 2553 44 2.82 2554 12 0.76 2555 3 0.19

28 ปัญหาระบบเฝ้าระวัง ความครบถ้วนของการรายงาน เพียงร้อยละ 14.28
ความครบถ้วนของการรายงาน เพียงร้อยละ พบผู้ป่วยในฐาน HosXP แต่ไม่พบในระบบรายงาน 506 และ โครงการกวาดล้างโรคหัด ผู้ป่วยที่แพทย์ R/O ไม่รายงาน ผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องไม่ทราบและให้ความสำคัญ ไม่มีโปรแกรมรองรับการเฝ้าระวังที่ดี : รพ.อุดร/รพ. ค่ายฯ/ รพ.เอกอุดร

29 เน้น หลังรายงานออนไลน์แล้ว
ถ้าผลตรวจยืนยัน IgM ไม่พบเชื้อจะไม่ถือว่า เป็นผู้ป่วยหัดในพื้นที่ “จะนับผู้ป่วยหัดเฉพาะ ผลตรวจยืนยันเท่านั้น”

30

31 Thank you for your attention


ดาวน์โหลด ppt Measles Elimination Bureau of Epidemiology, DDC

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google