งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มกราคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มกราคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มกราคม งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม

2 เปรียบเทียบผู้ป่วยโรคทางระบาดวิทยา 10 อันดับแรก จังหวัดนครปฐม
เดือนมกราคม 2557กับ เดือนมกราคม 2556 อัตราต่อปชกแสนคน

3 สถานการณ์ โรคไข้เลือดออก

4 ตารางที่ 1 เรียงลำดับจังหวัดที่พบผู้ป่วย 10 อันดับแรกของประเทศไทย
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2557 ตารางที่ 1 เรียงลำดับจังหวัดที่พบผู้ป่วย 10 อันดับแรกของประเทศไทย ลำดับที่ Reporting areas cases Morbidity rate deaths 1 Phuket 26 7.28 2 Samut Sakhon 18 3.57 3 Phatthalung 16 3.12 4 Narathiwat 21 2.79 5 Phetchaburi 12 2.57 6 Nakhon Pathom 17 1.95 7 Bangkok 99 1.74 8 Lop Buri 1.59 9 Rayong 10 1.55 Pattani 1.2 รวมทั้งประเทศ 397 0.62 แหล่งที่มา: เข้าถึงข้อมูล ณ วันที่ 25 ม.ค. 57

5 แหล่งที่มา: http://http://www. thaivbd. org/dengue. php
แหล่งที่มา: ณ วันที่ 25 ม.ค. 57

6 สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม

7 สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของจังหวัดนครปฐม
ผู้ป่วยสะสม 27 ราย อัตราป่วยเป็นอันดับที่ 6 ของประเทศไทย จำนวน (ราย) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม ( ณ 25 ม.ค 57)

8 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2556 จำแนกตามพื้นที่
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี จำแนกตามพื้นที่ (ข้อมูล ณ 25 ม.ค. 57) อัตราป่วยต่อแสนปชก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม

9 เปรียบเทียบอัตราป่วยต่อแสนสะสมโรคไข้เลือดออก
ปี กับ 2556 จำแนกตามเครือข่าย(ข้อมูล ณ 25 ม.ค. 57) อัตราป่วยต่อแสนปชก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม

10 เรียงลำดับผู้ป่วยจากมากไปน้อย 10 อันดับแรกของจังหวัดนครปฐม (สะสมปี 2556)
ลำดับที่ อำเภอ ตำบลl สะสมปี 2556 1 สามพราน อ้อมใหญ่ 8 15 2 กำแพงแสน สระสี่มุม 13 14 3 เมืองนครปฐม ถนนขาด 4 ดอนยายหอม 12 5 นครชัยศรี ศรีษะทอง 6 สามควายเผือก 7 11 ธรรมศาลา 9 10 ไร่ขิง หอมเกร็ด แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม (25 มค 57)

11 พื้นที่ที่กำลังมีการระบาดด้วยโรคไข้เลือดออก
รายละเอียดดังเอกสาร แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม (25มค57)

12 แนวโน้มการระบาด

13 แนวโน้มของการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม(ณ 25 มค 57)
อัตราป่วยต่อแสน แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม ( ณ 17 มค 57)

14 ประเด็นสำคัญ

15 จากการตรวจสอบมีผู้เสียชีวิต 3 ราย อายุ 6 ปี 4 ปี และ 40 ปี
จากการตรวจสอบมีผู้เสียชีวิต 3 ราย อายุ 6 ปี 4 ปี และ 40 ปี การรักษาครั้งแรก - ซื้อยามากินเอง ไปคลินิก 2 ราย ไปรพ.รัฐ 1 ราย การรักษาครั้งแรก - ซื้อยามากินเอง ไปคลินิก 2 ราย ไปรพ.รัฐ 1 ราย จำนวนครั้งที่รักษา ครั้ง ระยะเวลาจากวันเริ่มป่วยถึงวันวินิจฉัย วัน ทุกรายมีแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย มีผู้ป่วยมาก่อน

16 ประเด็นข้อสังเกต /ปัญหาที่พบ
1. ปีนี้ จะมีการระบาดอย่างต่อเนื่อง 2. การระบาดจะยังเป็นพื้นที่ที่มีการจัดการยาก มีการคมนาคมสะดวก ดังนี้ อ.เมือง ต.พระปฐมเจดีย์ ต.ดอนยายหอม ต.ธรรมศาลา อ.กำแพงแสน ต.กำแพงแสน ต.สระสี่มุม อ.นครชัยศรี ต.นครชัยศรี ต.ศรีษะทอง ต.ขุนแก้ว อ.ดอนตูม ต.ดอนรวก อ.สามพราน ต.อ้อมใหญ่ ต.ไร่ขิง อ.บางเลน ต.บางเลน อ.พุทธมณฑล อ.ศาลายา 3.สภาพแวดล้อม มีแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย เหมาะสมต่อการมีลูกน้ำ

17 ประเด็นข้อสังเกต /ปัญหาที่พบ
4. กว่าจะรู้ป่วยเป็นไข้เลือดออกช้า ทำให้ควบคุมโรคไม่ทันเวลา 5. ในบางพื้นที่ที่มีโรงงานมาก ต้องหารูปแบบที่เหมาะสมในการ ควบคุมโรค 6. ในบางพื้นที่ยังขาดการประสานงาน/ ไม่สนับสนุนการดำเนินงาน

18 พื้นที่ดำเนินการจังหวัดนครปฐม ปีงบประมาณ 2557
ลำดับ อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน 1 เมืองนครปฐม ถนนขาด ม.4 2 บางเลน ม.8 3 สามพราน อ้อมใหญ่ ม.3 4 นครชัยศรี ศีรษะทอง ม.5 5 กำแพงแสน ทุ่งขวาง ม.7 6 พุทธมณฑล คลองโยง ม.6 7 ดอนตูม(เพิ่มในปี57) สามง่าม ม.11

19 มาตรการสำคัญในการจัดการไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2557
รวมพลังเร่งรัดกำจัดลูกน้ำ ร่วมมือ ร่วมจิต ช่วยชีวิตผู้ป่วย เฝ้าระวังสถานการณ์ จำนวนผู้ป่วย(ราย) โรงเรือน/ โรงเรียน/ โรงงาน/โรงพยาบาล/โรงธรรม ปิด-เปิด-กลางเทอม ตะไคร้หอมทากันยุง อสม.นำชุมชน ครม.สนับสนุน เตรียมพร้อมทีมแพทย์ ทุก รพ. จัดแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ปรึกษา การจัดทำ DENGUE CORNER จัดหาสำรองเวชภัณฑ์ แนะนำกลุ่มเสี่ยงรีบมา รพ. เฝ้าระวังโรคในช่วงปลายปี เพื่อแจ้งเตือนการระบาด สรุปบทเรียนการดำเนินงาน สื่อสารความเสี่ยง สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ กว้างขวาง ประสาน เครือข่าย ทุกภาคส่วน มีเวลาทอง เพียง 2-3 เดือน เปลี่ยนพื้นที่เสี่ยงสูงเป็น ชุมชนปลอดลูกน้ำยุงลาย (HI<10,CI=0) คาดการณ์จำนวนผู้ป่วย มัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ( ) คาดการณ์ความชุกชุมยุงลาย 19

20 การคาดการณ์ผู้ป่วยโรคกลุ่มไข้เลือดออกในประเทศไทย ปี 2557 ภายใต้ 2 สถานการณ์สมมุติ
จำนวนผู้ป่วย (ราย) ช่วงที่สมมุติ ช่วงที่พยากรณ์ เดือนที่รายงาน Scenario 1: สมมุติให้เดือน กันยายน-ธันวาคม 2556 สถานการณ์การระบาดเกิดขึ้นภายใต้มาตรการเช่นเดียวกับที่ได้ดำเนินการในช่วงที่ผ่านมา คาดการณ์จำนวนผู้ป่วยทั้งปี 2556 เท่ากับ 165,764 ราย และปี 2557 เท่ากับ 158,782 ราย Scenario 2: สมมุติให้เดือน กันยายน-ธันวาคม 2556 สถานการณ์การระบาดเกิดขึ้นภายใต้มาตรการเข้มข้นที่สามารถลดจำนวนผู้ป่วยจนอยู่ในระดับต่ำใกล้เคียงกับมัธยฐาน 5 ปีที่ผ่านมา คาดการณ์จำนวนผู้ป่วยทั้งปี 2556 เท่ากับ 148,506 ราย และปี 2557 เท่ากับ 79,476 ราย

21 โรคที่ต้องเฝ้าระวังพิเศษ

22 พื้นที่ที่กำลังมีการระบาดด้วยโรคไข้หวัดนก

23

24 =analysis_p&s=analysis_ma (สืบค้น ณ วันที่ 27 มค 57.)
เข้าถึงได้จาก: =analysis_p&s=analysis_ma (สืบค้น ณ วันที่ 27 มค 57.)

25

26

27 ฝากผู้บริหารติดตาม 1. การรายงานบน Website SRRT
2. การเขียนรายงานสอบสวนโรค : อำเภอที่ยังไม่มีการส่งรายงานสอบสวนโรค อ.นครชัยศรี อ.ดอนตูม อ.บางเลน อ.พุทธมณฑล

28 เข้าถึงได้จาก: http://http://www. boe. moph. go
เข้าถึงได้จาก: (สืบค้น ณ วันที่ 27 มค 57.)

29 ขอบคุณค่ะ Darunee Phosri


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มกราคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google