งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผู้อำนวยการสำนักบริหารจัดการโรคเฉพาะ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผู้อำนวยการสำนักบริหารจัดการโรคเฉพาะ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผู้อำนวยการสำนักบริหารจัดการโรคเฉพาะ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การนำแนวคิด Chronic Disease Management มาประยุกต์กับ การจัดการโรคความผิดปกติแต่กำเนิด ปากแหว่งเพดานโหว่ นายแพทย์ ชูชัย ศรชำนิ ผู้อำนวยการสำนักบริหารจัดการโรคเฉพาะ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

2 กว่าร้อยละ 50 ของคนไทยทุกช่วงวัย มีภาวะความเจ็บป่วยเรื้อรังอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือมากกว่า
 เบาหวาน และภาวะที่เกี่ยวข้องกับเบาหวาน (ตา ไตวายเรื้อรัง หัวใจและหลอดเลือด หลอดเลือดในสมอง โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง ลมชัก ข้อและกระดูก ภาวะความผิดปกติทางจิต และภาวะความกดดันทางจิต ความผิดปกติแต่กำเนิด ทั้งจากกรรมพันธุ์ และพัฒนาการ

3 ทุกข์ของ Chronic Conditions มุมมองที่ต้องทำความเข้าใจ
ปัญหาภาวะความเจ็บป่วยที่เป็นต่อเนื่องไปตลอดชีวิต อาจไม่หายแต่สามารถควบคุมหรือหยุดยั้ง ไม่ให้มีความรุนแรง มากขึ้นต่อไปได้ ความเจ็บป่วยเรื้อรัง มีผลกระทบร่วมกันทั้งต่อ บุคคลนั้น ครอบครัว สังคมปฏิสัมพันธ์กับสังคม จิตใจ ความมั่นใจ ความท้อแท้ ครอบครัว การเข้าสังคมแบบแปลกแยก เศรษฐกิจ รายได้ ความสามารถในการสร้างผลิตภาพแก่สังคม การแบกรับภาระทรัพยากรของระบบสาธารณสุข ทั้งงบประมาณ และการต้องใช้บุคลากร การสื่อสารกับผู้ให้บริการระดับต่างๆ

4 Disease management : a systems approach to improving patient outcomes
“ การจัดการระบบการดูแลผู้ป่วย โดยรวมการคัดกรองความเสี่ยง การตรวจวินิจฉัย การรักษา และการประเมินผล เพื่อให้เกิดสมดุลระหว่าง ผลการรักษา คุณภาพชีวิต และค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม เน้นให้เกิดความร่วมมือในการรักษาระหว่างผู้ให้บริการ ผู้ป่วย และครอบครัว และผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้ ”

5 Approach ของสำนักบริหารจัดการโรคเฉพาะ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
Catastrophic Case Management Leukemia Lymphoma Hemophilia Heart surgery Acute Coronary Syndrome (PCI 2008) Disease Management Chronic And Complex illness HIV / AIDS , TB Diabetes , DR Cataract Cleft lip – palate CKD (pilot) Stem Cell (pilot 2008) Thalassemia (pilot 2008) Epilepsy (pilot ) Transplant ??

6 Disease Management Intervention Points สำหรับความผิดปกติแต่กำเนิด ปากแหว่ง เพดานโหว่
Primary Prevention ถ้าทำได้ เก็บข้อมูล ยสส. 3 Secondary Prevention Tertiary Prevention ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีภายใต้การเอื้ออาทรจากสังคม ครอบครัว Maintain Quality of Life มีภาระโรค Chronic Disease Associated พบความผิดปกติ Defect จัดการ co morbidities ในช่องปาก การพูด Clinical Finding เมื่อคลอด Early treatment Surgical correction คลอด อายุ ปี Case manager บริหารด้วยข้อมูลใน register DMIS

7 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ก้าวสู่ยุคที่ สอง
Effective, responsive and anticipatory care รอให้มีภาวะแทรกซ้อน ภาวะเจ็บป่วยเฉียบพลัน แล้วติดตาม ไล่กวดจ่ายเงินให้บริการที่มีค่าใช้จ่ายสูง EFFECTIVE CHRONIC DISEASE MANAGEMENT จัดการเชิงรุก ป้องกัน ควบคุม หยุดยั้งในทันทีที่เจอปัญหา จัดชุดสิทธิประโยชน์ จ่ายเงินตาม evidence based care หลักการทางการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย การปรับแนวคิดจากการสงเคราะห์ มาเป็นสิทธิ ให้ประชาชนลดความพึ่งพา (dependent) มาเป็นการพึ่งตนเอง ยืนอยู่บนขาตนเอง (independent) สภาวะอันเกี่ยวเนื่องกับการเจ็บป่วยเรื้อรัง ทางด้านเศรษฐานะส่วนบุคคล ครอบครัวรอบข้าง ทางด้านจิตใจและการเข้าสู่สังคม การสร้างระบบริการที่เชื่อมโยงกันทั้งในแนวราบ และแนวดิ่งจึงเป็นทั้งการสร้างกุศลแก่เพื่อนมนุษยชาติด้วยกัน และเป็นการส่งสัญญาณการยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิตคนไทยขึ้นมาอีกระดับหนึ่งในเวทีโลก Expensive, reactive, unplanned care

8 Disease Management ที่ สปสช
Disease Management ที่ สปสช. ทำอะไร กับ การบริหารจัดการภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ = 3Rs Registration ลงทะเบียนสิทธิ โดยให้สามารถลงได้ที่สถานที่เกิด เพื่อให้สามารถร่วมมือกันส่งต่อมารักษาผ่าตัดและให้การดูแลช่วยเหลือ Recall ญาติ (พ่อ แม่) เพื่อให้มาดูแลรักษาตามกำหนดเวลา ผ่าตัด ฝึกการพูด ทันตกรรมบำบัด ด้วยสมุดคู่มือประจำตัวผู้ป่วย ระบบติดตามนัดโดย Case Manager Review ทบทวนกับเครือข่ายการจัดบริการในพื้นที่ต่างๆ เพื่อให้จัดบริการตามแนวเวชปฏิบัติที่กำหนด และมีการเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปตามข้อตกลง (ค่าการผ่าตัด / ค่าทันตกรรมบำบัด / ค่าฝึกการพูด)

9 Chronic Care Model เราต้องเดินไปด้วยกันทั้งภาคบริการและชุมชนเข้มแข็ง
Epping-Jordan, J E et al. Qual Saf Health Care 2004;13: Copyright ©2004 BMJ Publishing Group Ltd.

10 สปสช. หน่วยบริการจะต้องร่วมกันเพื่อพัฒนาระบบการดูแลแบบบูรณาการ ร่วมรับผิดชอบค่าใช้จ่ายอันเกี่ยวกับการยกระดับคุณภาพบริการ ผู้มีภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังที่สามารถจัดการสุขภาพส่วนตนได้ดีมาเป็นผู้เชี่ยวชาญภูมิปัญญาแกนนำท้องถิ่น Remember the three Rs: IT should can support care planning, risk stratification, and monitoring the quality of care on offer. Information systems need to support the transfer of information. ใช้แนวเวชปฏิบัติที่มีหลักฐานอ้างอิงเป็นเกณฑ์เพื่อจัดการกับภาวะการเจ็บป่วยเรื้อรัง โดยใช้ประโยชน์จาก IT ให้ง่ายต่อการดำเนินการ สร้างทีมสหสาขาวิชาชีพที่เข้มแข็ง (รวมทั้งการดูแลด้านสังคมสงเคราะห์) ส่งเสริมการจัดการข้อมูลความเสี่ยง และ case management หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการประจำเป็นพันธมิตรกับองค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น สภากาชาดไทย อาสาสมัคร PCTs need to work in partnership with other NHS Trusts (including ambulance trusts) and social care to develop integrated approaches to care. A key issue is the sharing of incentives to promote high quality care. 3 Rs: ระบบสารสนเทศ DMIS จะช่วยสนับสนุนการวางแผนการดูแล การกำหนดระดับความเสี่ยง การเฝ้าติดตามคุณภาพการดูแล การส่งผ่านข้อมูลถึงกันและกัน PCTs need local strategic partnerships with local authorities, engaging community and voluntary organisations Many of the pieces are in place: The Expert Patient programme, NHS Direct and digital TV pilots, but some is patchy. We should build on the strengths of multidisciplinary team working (including social care) with a strong centre in primary care. The NHS could increase its use of risk stratification and case management of high risk patients. We must build on the use of evidence based guidelines for the treatment of chronic diseases and incorporate them in IT systems to make it easier to do the right thing.


ดาวน์โหลด ppt ผู้อำนวยการสำนักบริหารจัดการโรคเฉพาะ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google