งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความสุขคนไทย นายแพทย์ประเวช ตันติพิวัฒนสกุล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความสุขคนไทย นายแพทย์ประเวช ตันติพิวัฒนสกุล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความสุขคนไทย นายแพทย์ประเวช ตันติพิวัฒนสกุล
นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ กรมสุขภาพจิต

2 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อนำเสนอวิชาการเรื่องความสุขแก่ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ 2) เพื่อสนับสนุนจังหวัดที่มีความสนใจ ให้ได้เรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ตลอดจนนำแนวคิดไปดำเนินงานในพื้นที่ของตน 3) เพื่อเป็นการเตรียมความเข้าใจการจัดงานสัปดาห์สุขภาพจิต ปีพ.ศ.2554 ภายใต้หัวข้อ "ความสุข .. สร้างได้"

3 โครงการรายงานสถานการณ์
สุขภาพจิตประจำปี

4 รายงานสถานการณ์สุขภาพจิตประจำปี
ข้อมูลสุขภาพจิตระดับจังหวัด / “จัดลำดับ” 1. แบบประเมินความสุขคนไทย 15 ข้อ: กรมสุขภาพจิต 2. การสำรวจ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ 3. วิเคราะห์ข้อมูล: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล 4. งบประมาณ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส)

5 โครงการสำรวจสุขภาพจิตคนไทย (อายุ 15 ปีขึ้นไป)
โครงการสำรวจสุขภาพจิตคนไทย (อายุ 15 ปีขึ้นไป) สสช. ได้จัดทำการสำรวจไปแล้ว 6 ครั้ง ครั้งที่ ปี สำรวจพร้อมกับ 2551 (ต.ค.) การสำรวจสภาวะทางสังคมและวัฒนธรรม (สสว.) 1 2552 (ม.ค.-ธ.ค.) 2 การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (สศส.) 2553 (ม.ค.-ธ.ค.) 3

6 ข้อมูลความสุขรายจังหวัด ปีเว้นปี ข้อมูลความสุขกับตัวแปรต่างๆ สลับกันไป
ครั้งที่ ปี 2554 สำรวจพร้อมกับ การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ 4 มี.ค. การสำรวจการออกกำลังกาย การสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ 5 มี.ค.– เม.ย. และการดื่มสุรา 6 พ.ค.– ก.ค. การสำรวจประชากรผู้สูงอายุ ในประเทศไทย ข้อมูลความสุขรายจังหวัด ปีเว้นปี ข้อมูลความสุขกับตัวแปรต่างๆ สลับกันไป

7 นิยามสุขภาพจิต สภาพชีวิตที่เป็นสุข (1) อันเป็นผลจากการมีความสามารถในการจัดการปัญหาในการดำเนินชีวิต (2) มีศักยภาพที่จะพัฒนาตนเอง เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี โดยครอบคลุมถึงความดีงามในชีวิตจิตใจ (3) ภายใต้สภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม (4) ที่เปลี่ยนแปลงไป

8 แบบประเมิน สุขภาพจิตคนไทย 55 ข้อ แบบประเมิน ความสุขคนไทย 15 ข้อ

9 ความสุข สมรรถ- ภาพจิตใจ สภาพจิตใจ ปัจจัยสนับสนุน คุณภาพจิตใจ
Mental State Mental Capacity ปัจจัยสนับสนุน (ครอบครัว) คุณภาพจิตใจ Mental Quality Supporting factors

10 ข้อความ “ลบ” คำนวณคะแนนกลับ
คะแนนความสุข ข้อคำถาม 15 ข้อ แต่ละข้อมีคะแนน 0-3 ข้อความ “ลบ” คำนวณคะแนนกลับ คะแนน 0-45 คะแนน กลุ่มสุขน้อย คะแนนน้อยกว่าจุดตัด (27) กลุ่มทั่วไป คะแนนระหว่าง คะแนน (สุขปานกลาง) กลุ่มสุขภาพจิตดี (สุขมาก) คะแนนตั้งแต่ 35 ขึ้นไป

11 องค์ประกอบคะแนนความสุข
ความรู้สึกทางบวก พอใจ สบายใจ ภูมิใจ ความรู้สึกทางลบ ผิดหวัง ชีวิตมีแต่ความทุกข์ เบื่อหน่ายท้อแท้ สมรรถภาพจิตใจ มั่นใจว่าควบคุมอารมณ์ได้ มั่นใจที่จะเผชิญเหตุการณ์ร้ายแรง ทำใจยอมรับได้ คุณภาพจิตใจ เป็นสุขในการช่วยเหลือผู้อื่น เห็นอกเห็นใจ ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้อื่นเมื่อมีโอกาส ครอบครัว หากป่วยหนักครอบครัวจะดูแล รักและผูกพันต่อกัน มั่นคงปลอดภัยเมื่ออยู่ในครอบครัว แต่ละองค์ประกอบ มี 3 ข้อคำถาม แต่ละข้อมีคะแนน 0-3 แต่ละองค์ประกอบจึงมีคะแนนได้ 0-9 ค่าเฉลี่ยของจังหวัด/คำนวณร้อยละเทียบจากคะแนนเต็ม

12 การนำเสนอ ผลการสำรวจปี 51, 52, 53 แนวโน้มความสุขคนไทย
ปัจจัยกำหนดสุขภาพจิต/ความสุขคนไทย ข้อมูลระดับจังหวัด (Ranking) นโยบายของรัฐ แนวทางการสร้างสุขระดับจังหวัด

13 1 แนวโน้มความสุขคนไทย

14 ร้อยละกลุ่ม “สุขน้อย” ปี 52-53

15 ร้อยละของประชากร จำแนกตามระดับความสุข ปี 51-53

16 แผนภูมิ : ร้อยละของคะแนนสุขภาพจิต 5 องค์ประกอบ
ในคนไทย 15 ปีขึ้นไป ปี พ.ศ สถานการณ์สุขภาพจิตคนไทย: โครงการรายงานสุขภาพจิตประจำปี

17 2. ปัจจัยกำหนดความสุขคนไทย: ปัจจัยเสี่ยง
ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ อยู่ในจังหวัดที่รวย (แต่ตัวเองจน) มีหนี้สินนอกระบบ (หนี้ในระบบไม่ใช่ปัญหา) ไม่สนใจศาสนา หญิง สูงอายุ หม้าย/หย่า/แยก การศึกษาต่ำ รายได้น้อย เป็นหัวหน้าครอบครัว การงานไม่มั่นคง เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกิน

18 ปัจจัยกำหนดความสุขคนไทย:ปัจจัยปกป้อง การสำรวจสังคม&วัฒนธรรม 51
ครอบครัวมีเวลาให้กันอย่างเพียงพอ มีกิจกรรมร่วมกัน เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน/หมู่บ้าน ยกโทษและให้อภัยผู้ที่สำนึกผิดอย่างจริงใจ ปฏิบัติตามหลักคำสอนทางศาสนา ถ้าเป็นชาวพุทธ : ฝึกสมาธิ ประเมินตนเองว่ามีสุขภาพดี

19 ครอบครัวมีเวลาให้กัน
สมการความสุข ความสุข ความพอใจ สมรรถภาพจิตใจ คุณภาพจิตใจ ยึดหลักศาสนา พุทธ: ปฏิบัติสมาธิ บริจาคทรัพย์ ให้อภัย ช่วยเหลือผู้อื่น ร่วมกิจกรรมชุมชน ปัจจัยสนับสนุน ครอบครัวมีเวลาให้กัน แต่งงาน โสด รายได้ดี งานมั่นคง ไม่มีหนี้นอกระบบ ที่ดินทำกิน ไม่อยู่ในจังหวัดรวย

20 พ.ศ.2552 พ.ศ.2553 3.ความสุขรายจังหวัด

21 ร้อยละของประชากรที่สุขน้อย จำแนกตามพื้นที่ ปี 51-53
ร้อยละของประชากรที่สุขน้อย จำแนกตามพื้นที่ ปี 51-53

22 คะแนนความสุขรายจังหวัด เรียงตามลำดับจากจังหวัดสุขมาก-สุขน้อย
คะแนนความสุขรายจังหวัด เรียงตามลำดับจากจังหวัดสุขมาก-สุขน้อย ลำดับที่ จังหวัด คะแนนความสุข 2552 2553 1 พังงา 36.81 36.57 2 ชลบุรี 36.66 ตรัง 36.38 3 ร้อยเอ็ด 35.99 มหาสารคาม 36.34 4 นครพนม 35.93 นราธิวาส 36.29 5 สุรินทร์ 35.91 ตาก 36.26

23 คะแนนความสุขรายจังหวัด เรียงตามลำดับจากจังหวัดสุขมาก-สุขน้อย
คะแนนความสุขรายจังหวัด เรียงตามลำดับจากจังหวัดสุขมาก-สุขน้อย ลำดับที่ จังหวัด คะแนนความสุข 2552 คะแนนความสุข 2553 71 หนองบัวลำภู 30.70 นครนายก 30.46 72 ภูเก็ต 30.55 แม่ฮ่องสอน 29.96 73 ลำปาง 30.09 สระแก้ว 29.92 74 29.15 75 29.63 สมุทรปราการ 76 28.74 สมุทรสงคราม 28.25

24 ร้อยละของคนสุขน้อยรายจังหวัด จากมากไปหาน้อย
ร้อยละของคนสุขน้อยรายจังหวัด จากมากไปหาน้อย ลำดับที่ จังหวัด ร้อยละ คน สุขน้อย 2552 สุขน้อย 2553 1 สมุทรปราการ 35.54 สมุทรสงคราม 47.75 2 สระแก้ว 31.29 สุโขทัย 38.48 3 นครนายก 30.25 ภูเก็ต 33.51 4 ลำปาง 28.78 31.97 5 27.27 28.43 6 25.61 แม่ฮ่องสอน 27.63

25 ร้อยละของคนสุขน้อยรายจังหวัด จากมากไปหาน้อย
ร้อยละของคนสุขน้อยรายจังหวัด จากมากไปหาน้อย ลำดับที่ จังหวัด ร้อยละ คนสุขน้อย 2552 คนสุขน้อย2553 70 พังงา 4.30 มหาสารคาม 3.44 71 พิจิตร 4.02 แพร่ 3.25 72 เชียงใหม่ เพชรบูรณ์ 2.99 73 ชุมพร 3.80 2.61 74 ศรีสะเกษ 2.50 75 สกลนคร 2.68 ปัตตานี 2.36 76 นครพนม ตรัง 2.09

26 ร้อยละกลุ่มสุขน้อย แบ่งตามระดับรายได้จังหวัด
รายได้ต่ำ นครพนม 2.36 % สกลนคร 2.68 แพร่ 3.80 .... แม่ฮ่องสอน 18.78 ประจวบ 24.49 ลำปาง 28.78 รายได้ปานกลาง ลำพูน 4.38 % ชัยนาท 5.67 พัทลุง 6.28 ..... สมุทรสงคราม 27.27 นครนายก 30.25 สระแก้ว 31.29 รายได้สูง ชุมพร 3.80 % พิจิตร 4.02 พังงา 4.30 ..... นนทบุรี 20.00 ภูเก็ต 25.61 สมุทรปราการ 35.54

27 แผนภูมิ : ร้อยละของคะแนนสุขภาพจิต 5 องค์ประกอบ
จำแนกตามภูมิภาค ปี พ.ศ. 2553

28 แผนภูมิ : ร้อยละของคะแนนสุขภาพจิต 5 องค์ประกอบ
เปรียบเทียบ กทม. ภาคกลาง ทั่วประเทศ ปี พ.ศ. 2553

29 แผนภูมิ : ร้อยละของคะแนนสุขภาพจิต 5 องค์ประกอบ
เปรียบเทียบสมุทรปราการ นนทบุรี นครปฐม ปทุมธานี ปี พ.ศ. 2553

30 แผนภูมิ : ร้อยละของคะแนนสุขภาพจิต 5 องค์ประกอบ
เปรียบเทียบยะลา ปัตตานี นราธิวาส ภาคใต้ ปี พ.ศ. 2553

31 แผนภูมิ : ร้อยละของคะแนนสุขภาพจิต 5 องค์ประกอบ
เปรียบเทียบ พังงา ภูเก็ต ปี พ.ศ. 2553

32 4.นโยบายของรัฐ ผลการศึกษา สนับสนุนนโยบาย ที่ดินทำกินของเกษตรกร
การแก้ปัญหาหนี้นอกระบบ เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ แต่มีข้อควรพิจารณาเรื่องนโยบายเศรษฐกิจ จังหวัดที่รวย มีความสุขน้อยกว่า จังหวัดที่จน ในกลุ่มจังหวัดที่มีระดับรายได้ใกล้เคียงกัน ร้อยละคนสุขน้อยต่างกัน 8-10 เท่า

33 ความสุข 8 หมวด ปราชญ์ชาวบ้าน
หลักประกันในชีวิต บ้าน ที่ดินทำกิน อาหาร เงินทองใช้สอย มียุ้งข้าวใหญ่ มีข้าวกินตลอดปี ร่างกายและจิตใจที่แข็งแรง จิตใจสบาย ไม่มีเรื่องกลุ้มใจ สุขภาพดี อายุยืนนาน ไม่มีโรคประจำตัว ครอบครัวอบอุ่น อยู่พร้อมหน้า ไม่ทะเลาะเบาะแว้ง ลูกขยัน ผัวเดียวเมียเดียว มีเวลาให้กัน ชุมชนเข้มแข็ง เรียนรู้ร่วมกันต่อเนื่อง ผู้นำเป็นตัวอย่าง ร่วมมือในกิจกรรมชุมชน ช่วยเหลือกันและกัน สามัคคี

34 ความสุข 8 หมวด ปราชญ์ชาวบ้าน
5. สิ่งแวดล้อมดี ดิน น้ำ ป่าอุดมสมบูรณ์ อากาศไม่เป็นพิษ มีถนน น้ำประปา ไฟฟ้า สิ่งแวดล้อมน่าอยู่ 6. มีอิสรภาพ ทำทุกอย่างได้ดังใจ สบายใจ ไม่เดือดร้อนผู้อื่น ไม่มีหนี้สิน ไม่ถูกผู้อื่นครอบงำความคิด อาชีพอิสระ 7. มีความภาคภูมิใจ งานประสบความสำเร็จ เจริญรุ่งเรือง ได้ถ่ายทอดความรู้ความคิดต่อผู้อื่น 8. มีธรรมะในการอยู่ร่วมกัน ทำบุญ พอใจในสิ่งที่มี อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข เข้าวัดฟังธรรม

35 นโยบายสร้างสุข ประเมินความสุขระดับประเทศ ทบทวนทัศนคติเรื่องต่างๆ
ช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อย และผู้ป่วยทางจิต ปรับปรุงคุณภาพชีวิตครอบครัว กิจกรรมเติมชีวิตให้ชุมชน ลดอัตราว่างงาน เลี่ยงการกระตุ้นความอยาก งดโฆษณาในเด็ก เรียนรู้ความหมายของชีวิต จุดหมาย การจัดการตนเอง Layard. R. 2009

36 กิจกรรมสร้างสุขในชุมชน
พัฒนาความคิด มองโลกแง่ดี สำนึกขอบคุณ สร้างสายสัมพันธ์ในครอบครัวและชุมชน เรียนรู้การจัดการอารมณ์และความเครียด ทักษะจัดการปัญหา การช่วยเหลือกันในชุมชน ฝึกอยู่กับปัจจุบัน ค้นหาความหมาย สร้างจุดหมายในชีวิต ดูแลร่างกาย ออกกำลังกาย Lyubomirsky. S

37 กิจกรรมความสุขระดับบุคคล
ออกกำลังกาย ทบทวนสิ่งดีๆ รับฟัง พูดคุยกับคนรัก ปลูกต้นไม้ ลดเวลาดูทีวี ยิ้มและทักทายคนไม่รู้จัก พูดคุยกับเพื่อนฝูง หัวเราะ ใส่ใจดูแลตนเอง มอบสิ่งดีๆ ให้คนอื่น Richard Stevens

38 ศาสนา กิจกรรมเรียนรู้
กิจกรรมจิตอาสา 1 พัฒนาทางจิตใจ 2 สิ่งแวดล้อม/ชุมชน สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ สังคม/ชุมชน การมีส่วนร่วม 3 ค่านิยม / วิถีชีวิต ข่าวสารความรู้ กิจกรรม นโยบาย 4 เข้าถึงบริการ สจ. เยาวชนและครอบครัว กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยทางจิต 5 ความเท่าเทียม ระบบข้อมูล การเข้าถึงบริการ /ทรัพยากรของรัฐ

39 5.แนวทางการสร้างสุขระดับจังหวัด

40 ระดับบุคคล บัญญัติสุข 10 ประการ ระดับชุมชน พื้นที่สาธารณะ Public Space
ศาสนา กิจกรรมเรียนรู้ กิจกรรมจิตอาสา 1 พัฒนาทางจิตใจ บัญญัติสุข 10 ประการ สิ่งแวดล้อมกายภาพ สังคม/ชุมชน การมีส่วนร่วม ระดับชุมชน 2 สิ่งแวดล้อม/ชุมชน พื้นที่สาธารณะ Public Space Social Cohesion 3 ค่านิยม/ วิถีชีวิต ข่าวสารความรู้ กิจกรรม นโยบาย 4 เข้าถึงบริการ สจ. เยาวชน/ครอบครัว กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยทางจิต ระบบบริการ การเข้าถึงบริการ ระบบข้อมูล การเข้าถึงบริการ /ทรัพยากรของรัฐ 5 ความเท่าเทียม

41 รวบรวมข้อมูลและความคิดเห็น
จัดทำแผน ปฏิบัติ ประเมิน ติดตามผล รวบรวมข้อมูลพื้นฐาน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ทุนทางสังคม สภาพปัญหา แผนงาน/โครงการที่มี เวทีความคิดเห็น “ความสุขของคนที่นี่ เกิดจากอะไร” จัดตั้งคณะทำงาน กลไกการทำงาน จัดลำดับความสำคัญ กลุ่มเป้าหมาย ประเด็น มาตรการสำคัญ แนวทางบูรณาการ กำหนดเป้าหมาย / ตัวชี้วัดร่วม จัดทำแผนงาน อย่างมีส่วนร่วม ลงมือปฏิบัติตามแผน จัดกลไกประเมิน ติดตามร่วมกัน พิจารณาการประเมิน จากภายนอก เวทีสรุปบทเรียน แนวทางการ ดำเนินงานขั้นต่อไป

42


ดาวน์โหลด ppt ความสุขคนไทย นายแพทย์ประเวช ตันติพิวัฒนสกุล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google