งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง

2 Flow การสมัครเบิกจ่ายตรง

3 หน้าจอลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง (ส่วนที่ 1)

4 หน้าจอลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง (ส่วนที่ 2)

5 การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง
ท่านสามารถไปลงทะเบียนจ่ายตรงที่โรงพยาบาลใกล้บ้าน หรือโรงพยาบาลที่ไปรักษาประจำ โดยสามารถใช้สิทธิ์ได้เลยในวันนั้น กรณีที่ไปเจ็บป่วยฉุกเฉิน หรือได้รับอุบัติเหตุ ท่านสามารถเข้ารับบริการโรงพยาบาลอื่นๆได้โดยไม่ต้องไปลงทะเบียนจ่ายตรงอีก ทางโรงพยาบาลจะออกเลข Claim Code เพื่อขอเบิกจ่ายตรงมาที่ สปสช.

6 การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง
กรณีที่ต้องนอนโรงพยาบาล ถ้าท่านลงทะเบียนเบิกจ่ายตรงแล้ว ไม่ต้องทำหนังสือส่งตัวอีก ทางโรงพยาบาลจะออกเลขขออนุมัติ แทนเลขที่หนังสือส่งตัว กรณีที่ท่านยังไม่ได้ไปลงทะเบียนสิทธิ์ อปท. ที่หน่วยงานต้นสังกัดของท่าน ให้ท่านทำหนังสือส่งตัวมาแทนการลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง

7 การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง
ลงทะเบียนสิทธ์ที่ต้นสังกัดแล้ว ผู้มีสิทธิ์ร่วมสามารถไปลงทะเบียนจ่ายตรงได้โดยไม่ต้องรอ ผู้มีสิทธิ์ไปด้วยกัน ลงทะเบียนเบิกจ่ายตรงของ อปท.กับข้าราชการ แตกต่างกันอย่างไร ลงทะเบียนเบิกจ่ายตรงของ อปท. ลงทะเบียนแล้วใช้สิทธิได้เลย ส่วนของข้าราชการต้องรอผลการอนุมัติ 15 วัน ยกเว้นข้าราชการบำนาญลงทะเบียนเบิกจ่ายตรงแล้วใช้ได้เลยเช่นเดียวกับ อปท.

8 การเบิกระบบใบเสร็จรับเงิน กรณีผู้มีสิทธิสำรองเงินจ่าย ค่ารักษาพยาบาล ของพนักงานท้องถิ่น (กรณีผู้ป่วยนอก)

9 วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้มีสิทธิสวัสดิการพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถเข้ารับบริการยังสถานบริการของรัฐและสถานบริการเอกชนได้โดยต้องสำรองจ่ายค่ารักษาพยาบาลไปก่อน และรับใบเสร็จจากสถานบริการมาเพื่อส่งเบิกยังต้นสังกัดของผู้มีสิทธิ ต้นสังกัดของผู้มีสิทธิจะต้องดำเนินการส่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์มายัง website พร้อมทั้งแนบไฟล์สแกน เอกสารใบเสร็จเบิกเงินค่ารักษาพยาบาล ใบเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล (แบบ ร.บ.๓ )

10 การดำเนินงานของต้นสังกัด
แจ้งหมายเลขบัญชีเพื่อใช้ในการรับโอนเงินจาก สปสช. บัญชีของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร หรือ ธนาคารกรุงไทย เท่านั้น ชื่อบัญชีต้องเป็น “ชื่อขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” นั้น ๆ ต้องไม่ใช่บัญชีเดียวกับบัญชีของกองทุนตำบล

11 การดำเนินงานของต้นสังกัด
2. ผู้มีสิทธิมีการสำรองจ่ายเงินและได้รับใบเสร็จจากหน่วยบริการ ให้ผู้มีสิทธินำใบเสร็จดังกล่าวมาทำเรื่องแจ้งขอเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลคืนในใบเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล (แบบร.บ.๓ ) โดยให้ผู้บริหาร/ผู้มีอำนาจ ลงนาม และแนบใบเสร็จรับเงิน

12 การดำเนินงานของต้นสังกัด
3. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้องของ - ใบเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล (แบบ ร.บ.๓ ) ที่ลงนามโดยผู้บริหาร/ผู้มีอำนาจ - ใบเสร็จรับเงิน

13 การดำเนินงานของต้นสังกัด
4. บันทึกข้อมูลในโปรแกรมที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ( สปสช. ) กำหนดผ่าน website สปสช. : --> บริการออนไลน์ --> “งานทะเบียน”--->เลือกข้อ ๑๓ โปรแกรม ระบบทะเบียนบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และทำการ login เข้าโปรแกรม

14 การดำเนินงานของต้นสังกัด
ต้นสังกัดของผู้มีสิทธิจะต้องดำเนินการส่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์มายัง website พร้อมทั้งแนบไฟล์สแกน เอกสารใบเสร็จเบิกเงินค่ารักษาพยาบาล ใบเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล (แบบ ร.บ.๓ ) ลงนามโดยผู้บริหาร/ผู้มีอำนาจ

15 การดำเนินงานของต้นสังกัด
5. การบันทึกข้อมูลการเบิกในแต่ละครั้ง สามารถบันทึกข้อมูลการเบิกของผู้ป่วยรายเดียวกันที่ ใช้บริการใน ว/ด/ป เดียวกัน (ดูจากวันที่ในใบเสร็จรับเงิน) และใน สถานพยาบาลเดียวกันเท่านั้น โดยอาจจะมี ใบเสร็จมากกว่า ๑ ฉบับได้ เช่นเป็นใบเสร็จค่ารักษาพยาบาล ๑ ฉบับ และใบเสร็จค่าชันสูตร ๑ ฉบับ 1 ฎีกา : 1 คน : 1 วัน : 1 รพ.

16 การดำเนินงานของต้นสังกัด
1 ฎีกา : 1 คน : 1 วัน : 1 รพ. ตัวอย่าง รพ. นครพิงค์ วันที่ 1 ตค ใบเสร็จค่ายา 1 ฎีกา - ใบเสร็จค่าเจาะเลือด วันที่ 7 ตค.56 - ใบเสร็จค่ายา 1 ฎีกา

17 การดำเนินงานของต้นสังกัด
6. เมื่อบันทึกข้อมูลรายละเอียดเรียบร้อย ครบถ้วน ถูกต้องแล้วให้ส่งข้อมูลไปที่ สปสช. ผ่านหน้า website ตามที่กำหนด ทั้งนี้สามารถส่งข้อมูลการเบิกจ่ายได้ทุกวัน 7. หน่วยงานต้นสังกัดสามารถตรวจสอบและดาวน์โหลดการแจ้งโอนเงินได้ในโปรแกรม ลงทะเบียนฯ เพื่อนำไปใช้เป็นหลักฐานในการเบิกจ่ายเงินของหน่วยงานต่อไป

18 การดำเนินงาน ของ สปสช.

19 การดำเนินงานของ สปสช. ตอบกลับการรับข้อมูลและตรวจสอบข้อมูลทาง website ภายใน ๑ วันทำการหลังจากได้รับ ข้อมูลพร้อมแจ้งสถานะของข้อมูลที่ได้รับว่าครบถ้วน ถูกต้อง รอพิจารณาตรวจสอบและจ่ายชดเชย หากข้อมูลไม่ครบถ้วน ถูกต้องจะแจ้งกลับเช่นเดียวกันเพื่อให้ต้น สังกัดจัดทำข้อมูลเพิ่มเติม 2. กำหนดตัดยอดบัญชีเดือนละ ๑ ครั้ง ทุกวันสิ้นเดือนของทุกเดือน หากส่งไม่ทันจะเป็นการ ส่งและตัดยอดออก Statement ในเดือนถัดไป โดยเป็นข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบจาก สปสช. แล้วเท่านั้น

20 การดำเนินงานของ สปสช. 3. สปสช.จะตรวจสอบข้อมูลตามข้อ ๒) เทียบกับเอกสารหลักฐานที่แนบมา ภายใน ๕ วันทำการ หากไม่ตรงกันหรือไม่ถูกต้อง สปสช. จะแจ้งกลับ โดยจะออกรายงานการจ่ายเงินชดเชยกรณีสำรองจ่าย และใช้ใบเสร็จ รายเดือน ตามข้อมูลในข้อ ๒) 4. สปสช.จะดำเนินการโอนเงินให้ต้นสังกัดภายใน ๑๕ วันทำการ นับจากการดำเนินการ ขั้นตอนที่ ๓) เรียบร้อยแล้ว ผ่านบัญชีที่ต้นสังกัดแจ้งรับโอนเงิน

21 การบันทึกข้อมูล เพื่อขอเบิกตามระบบใบเสร็จรับเงิน

22 เข้าใช้งานโปรแกรมระบบทะเบียนบุคคลากร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

23 2. แจ้งขอเบิกเงินค่ารักษา

24 2. แจ้งขอเบิกเงินค่ารักษา

25 กดปุ่ม [แก้ไขข้อมูล] จะยังอยู่ที่หน้าเดิม ใช้ในกรณีที่กรอกข้อมูลผิด หรือต้องการแก้ไขข้อมูลใหม่อีกครั้ง กดปุ่ม [เพิ่มรายการใหม่] จะทำการล้างหน้าจอ เพื่อให้เจ้าหน้าที่คีย์ข้อมูลใบเสร็จ ถัดไป กดปุ่ม [กลับหน้าจอหลัก] จะทำการแสดงหน้าจอหลักโปรแกรม

26 3.การแก้ไขข้อมูลการขอเบิกเงินค่ารักษา

27 แสดงหน้าจอค้นหาข้อมูล ให้ทำการระบุเงื่อนไขที่ต้องการค้นหา และกดปุ่มค้นหา

28 สถานะ สถานะส่งข้อมูลขอเบิก หมายถึง: สถานะการบันทึกแจ้งข้อมูลขอเบิกเงินค่ารักษา จากหน่วยงาน อปท. สถานะขอเอกสารเพิ่มเติม หมายถึง: สถานะที่ทางเจ้าหน้าที่ สปสช. แจ้งขอเอกสารเพิ่มเติม สถานะอนุมัติจ่าย หมายถึง: สถานะที่ทางเจ้าหน้าที่ สปสช. พิจารณาอนุมัติจ่ายเงิน สถานะไม่อนุมัติ หมายถึง: สถานะที่ทางเจ้าหน้าที่ สปสช. พิจารณาไม่อนุมัติจ่ายเงิน

29 คลิกที่รูปแก้ไข ในรายการขอเบิก
คลิกที่รูปแก้ไข ในรายการขอเบิก

30 4.แสดงข้อมูลการขอเบิกเงินค่ารักษา

31 แสดงหน้าจอค้นหาข้อมูล ให้ทำการระบุเงื่อนไขที่ต้องการค้นหา และกดปุ่มค้นหา

32 คลิกที่รูปแสดง ในรายการขอเบิก
คลิกที่รูปแสดง ในรายการขอเบิก

33 5. การลบข้อมูลการขอเบิกเงินค่ารักษา

34 แสดงหน้าจอค้นหาข้อมูล ให้ทำการระบุเงื่อนไขที่ต้องการค้นหา และกดปุ่มค้นหา

35 คลิกที่รูป ลบรายการ ในรายการขอเบิก จะแสดงการยืนยันการลบข้อมูล
คลิกที่รูป ลบรายการ ในรายการขอเบิก จะแสดงการยืนยันการลบข้อมูล

36 6. รายงานการเข้ารับบริการ

37 รายงานการเข้ารับบริการ
สามารถระบุเงื่อนไขในการค้นหาเพื่อแสดงข้อมูลบนหน้าจอโปรแกรม หรือพิมพ์ข้อมูลในรูปแบบ PDF ไฟล์

38 รายงานการเข้ารับบริการ

39 7.รายงานการส่งข้อมูล (Statement)
เป็นรายงานที่ สปสช. สรุปจากข้อมูลที่ผ่านการอนุมัติ และตัดยอดข้อมูลโดยกำหนดการตัดยอดข้อมูลเป็นรายเดือน โดยต้นสังกัดส่งทันวันตัดยอดข้อมูล (วันสิ้นเดือน) ตัวอย่าง รายงาน Statement เดือน มกราคม ๒๕๕๗ จะเป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นจาก วันที่ผู้มีสิทธิเข้ารับบริการ ตั้งแต่วันที่ ๑-๓๑ มกราคม ๒๕๕๗

40 สามารถระบุเงื่อนไขในการค้นหาคือ ปี พ. ศ
สามารถระบุเงื่อนไขในการค้นหาคือ ปี พ.ศ.และเดือน เพื่อแสดงข้อมูลบนหน้าจอโปรแกรม หรือพิมพ์ข้อมูล ในรูปแบบ PDF ไฟล์

41

42 ตัวอย่างคำถาม การเบิกในระบบใบเสร็จของ สปสช. ใช้ใบเสร็จตั้งแต่วันที่ 1 ตค เป็นต้นไป การเบิกระบบใบเสร็จรับเงินจะใช้ได้กรณี ผู้ป่วยนอกเท่านั้น กรณีที่นอนโรงพยาบาล จะไม่สามารถใช้ระบบใบเสร็จรับเงินได้เพราะ สปสช.จ่ายให้โรงพยาบาลตามระบบ DRGs (เหมาจ่าย)

43 ตัวอย่างคำถาม กรณีที่นอนข้ามเดือนจากเดือนกันยายน มา และออกจากโรงพยาบาลเดือน ตุลาคม 56 ให้เบิกในระบบของ สปสช. ผู้ป่วยใช้สิทธิ อปท. เข้าฟอกไตที่ รพ.เอกชน สามารถเบิกที่ สปสช.ได้หรือไม่ เบิกได้ ทั้งนี้ต้องติดต่อลงทะเบียนฟอกไตกับ รพ.รัฐก่อน หาก รพ.รัฐออกหนังสือส่งตัวไปฟอก รพ.เอกชน ใช้สิทธิได้ หนังสือส่งตัวมีอายุ 6 เดือน สำหรับผู้ป่วยที่เคยฟอกเอกชนก่อนหน้านั้นหนังสือส่งตัวฉบับเดิมให้ใช้ได้ถึง 31 ธ.ค. 56 วันที่ 1 ม.ค.57 ต้องขอใหม่

44 ตัวอย่างคำถาม การตรวจสุขภาพประจำปีของข้าราชการ อปท.และบุคคลในครอบครัวยังใช้สิทธิได้เหมือนเดิมหรือไม่ ขณะนี้ยังยึดระเบียบ อปท. พ.ศ.2541 คือให้รวมถึงบุคคลในครอบครัว จนกว่าจะมีประกาศฉบับใหม่ของ อปท.ออกมา

45 ตัวอย่างคำถาม สิทธิ อปท. เข้ารับบริการที่ รพ.สต. และ รพ.เทศบาล ได้หรือไม่ ทั้ง 2 แห่ง มีสถานะเป็นหน่วยบริการภาครัฐ ใช้สิทธิได้ แต่ปัจจุบันยังไม่สามารถลงทะบียนเบิกจ่ายตรงกับทั้ง 2 หน่วยนี้ได้ ต้องสำรองจ่ายไปก่อน

46 ตัวอย่างคำถาม เคยมีสิทธิ UC ล้างไตผ่านหน้าท้อง ได้รับน้ำยาส่งถึงบ้าน ปัจจุบันมีสิทธิ อปท. จะขอให้จัดส่งน้ำยาถึงบ้านได้หรือไม่ สิทธิ อปท.ระบบบริหารจัดการน้ำยาล้างไตเหมือนสิทธิข้าราชการ ต้องติดต่อรับน้ำยาเองที่หน่วยบริการภาครัฐที่ลงทะเบียนไว้

47 ตัวอย่างคำถาม ใบแจ้งหนี้ที่เป็นค่ารักษาหลัง 1 ต.ค. 56 ที่ รพ.ส่งมาให้หน่วยงานสังกัด อปท. สามารถนำมาแสกนส่งเบิกในระบบใบเสร็จจากโปรแกรม อปท. ได้หรือไม่ กรณีผุ้ป่วยในจะไม่มีการเรียกเก็บตามระบบใบเสร็จ เนื่องจาก สปสช.จ่ายตามระบบ DRGs

48 ตัวอย่างคำถาม สามีสิทธิ์ UC จะสามารถใช้สิทธิ์ จ่ายตรงของ อปท. ของภรรยาได้หรือไม่ ใช้ได้ โดยต้องไปให้นายทะเบียนที่ต้นสังกัดลงทะเบียนใช้สิทธิ์ร่วมของภรรยา

49 ตัวอย่างคำถาม ภรรยามีสิทธิ์ประกันสังคม สามารถเบิกค่าใช้จ่ายส่วนเกินจาก สามี อปท.ได้หรือไม่ เบิกได้ ส่วนเกินกรณีคลอดบุตร (13,000) คลอดบุตรคนที่ 3 ส่วนเกินกรณีล้างไต (1,500) ทำฟัน (เบิกระบบใบเสร็จเฉพาะ รพ.รัฐเท่านั้น)

50 ตัวอย่างคำถาม เข้าไปรักษาที่ รพ.เอกชน กรณี อุบัติเหตุ เจ็บป่วยฉุกเฉิน เบิกได้หรือไม่ กรณีที่อาการแรกรับเข้าเกณฑ์ การเจ็บป่วยฉุกเฉิน 3 กองทุน รพ.เอกชนจะเบิกจาก สปสช. กรณีที่อาการแรกรับไม่เข้าเกณฑ์การเจ็บป่วยฉุกเฉิน 3 กองทุน สามารถเบิกในระบบใบเสร็จได้ไม่เกิน 3,000 บาท

51 ตัวอย่างคำถาม ลูกจ้างประจำที่เกษียณอายุราชการแล้ว รับบำเหน็จรายเดือน จะไม่สามารถใช้สิทธิ์ระบบจ่ายตรงได้


ดาวน์โหลด ppt การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google